เข้าสู่ระบบหรือลงทะเบียน
ติดต่อลงโฆษณา
[email protected]
หรือโทร. 081-811-1138 หรืออ่านรายละเอียดเพิ่มเติม คลิกที่นี่
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
ฟอรั่ม
>
RacingWeb Community
>
Racing Forum (Cars Forum)
>
ไอเดียดีๆ ป้องกันรถของคุณจากน้ำท่วมง่ายๆ และ เตือนป้องกันน้ำท่วม (อัพเกรดเรื่อยๆ)
>
ตอบกลับหัวข้อ
ชื่อ:
การตรวจสอบ:
กรุณาเปิดใช้งานจาวาสคริปต์เพื่อดำเนินการต่อ
กำลังโหลด...
ข้อความ:
<p>[QUOTE="seila4club, post: 1785276, member: 1040"]<img src="http://www.bangkokbiznews.com/home/media/2011/10/13/images/news_img_413536_1.jpg" class="bbCodeImage wysiwygImage" alt="" unselectable="on" /></p><p><br /></p><p>สำรวจความคิดเห็น หลากนักวิชาการน้ำ..ปราโมทย์ ไม้กลัด ส่งสัยคนกทม'ตื่นกันทำไม'มั่นใจเจ้าพระยาไม่ทะลัก"รอยล"มั่นใจเมืองหลวงไม่วิกฤติ</p><p><br /></p><p>สถานการณ์น้ำท่วมในเขตเมืองหลายพื้นที่ ไม่ว่าจะเป็น อยุธยา นครสวรรค์ สร้างความตื่นตระหนกให้ชาวกรุงเทพมหานคร ที่หลายคนอยู่ในอาการ "จมข่าวน้ำท่วม" ความเครียดและตื่นตระหนกกระจายทั่วกรุงเทพมหานครอย่างรวดเร็ว</p><p><br /></p><p> "ผมไม่รู้ว่า จะตื่นกันไปทำไม" เสียงของ นายปราโมทย์ ไม้กลัด อดีตอธิบดีกรมชลประทาน ที่วันนี้แม้จะอยู่ในวัยเกษียณอายุ แต่ก็นั่งมอนิเตอร์ตรวจสอบปริมาณน้ำ พร้อมทั้งโทรศัพท์ ประสานแนะนำเจ้าหน้าที่กรมชลประทานในระดับปฏิบัติในฐานะผู้มีประสบการณ์</p><p><br /></p><p> เขาอธิบายว่า จากการตรวจสอบสถานการณ์น้ำ ปิง วัง ยม และน่าน อยู่ในระดับทรงตัว รวมไปถึงการปล่อยน้ำของเขื่อนภูมิพล และเขื่อนสิริกิติ์ที่ลดปริมาณการปล่อยน้ำ ทำให้ ระดับน้ำที่ จ.นครสวรรค์ ปัจจุบัน อยู่ที่ระดับ 4,668 ลบ.ม. และในช่วง 1-2 วันนี้ระดับน้ำจะเพิ่มขึ้นมานิดหน่อยแต่ไม่มากนัก เพราะน้ำจากภาคเหนือไม่ไหลมาเพิ่มจึงไม่น่าเป็นห่วงมากนัก</p><p> หลังจากนั้นเมื่อเข้ามาตรวจสอบ ระดับน้ำที่แม่น้ำเจ้าพระยา อยู่ที่ระดับ 3,660-3,500 ล้าน ลบ.ม.ซึ่งถือว่าอยู่ในระดับที่ทรงตัว ปริมาณฝนภาคเหนือ และบริเวณเจ้าพระยามีฝนตกบ้างแต่ไม่มากนัก จึงเชื่อได้ว่า สถานการณ์ปัญหาน้ำท่วม มีแนวโน้มที่ดีขึ้นไปเรื่อยๆ</p><p><br /></p><p> "ผมดูจากทุกปัจจัยแล้ว ทั้งน้ำเหนือ ซึ่งอยู่ในระดับที่ไม่น่าเป็นห่วงมากนัก ปริมาณฝนก็ไม่มากเช่นกัน เพราะฉะนั้นวิเคราะห์จากทุกปัจจัยมีแนวโน้มดีขึ้น เพราะฉะนั้นสถานการณ์ที่เหลือ จึงเป็นเรื่องที่ต้องประคับประคองและเร่งระบายน้ำลงสู่ทะเล"</p><p><br /></p><p> ส่วนสถานการณ์ที่ กทม. นายปราโมทย์บอกว่า ระดับน้ำในพื้นที่ กทม. อาจจะมีการปรับตัวเพิ่มขึ้นมาเล็กน้อย และลักษณะพฤติกรรมน้ำไม่ตาย คือมีน้ำขึ้นน้ำลงปกติ แสดงว่าการระบายยังสามารถทำได้ จึงไม่น่าห่วงอะไร พื้นที่ กทม.รอบนอก ฝั่งตะวันออกอาจจะได้รับผลกระทบจากการระบายน้ำลงสู่อ่าวไทยบ้าง แต่แตกต่างจาก จ.อยุธยา หรือลพบุรี</p><p><br /></p><p> "น้ำที่ท่วม กทม.ชั้นนอก จะไม่ท่วมแบบพรวดพราด ต่างจากอยุธยา ลพบุรี เพราะแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง กทม.มีลักษณะแตกต่างมีพื้นที่ราบที่เป็นลานกว้างให้น้ำแพร่กระจายเข้าไปได้"</p><p><br /></p><p> อย่างไรก็ตาม เขาเชื่อว่า แม้จะมีน้ำเออท่วม กทม.ชั้นนอกบ้างเช่น เขต หนองจอก มีนบุรี รังสิต ปทุมธานี หรือในพื้นที่บางกรวย ปากเกร็ด แต่ก็ไม่ท่วมขังในระยะเวลานาน เพราะ กทม.ได้ออกแบบระบบป้องกันน้ำท่วมมาและการระบายเอาไว้ดีพอสมควร</p><p><br /></p><p> ส่วนพื้นที่ กทม.ชั้นใน นายปราโมทย์ ค่อนข้างมั่นใจว่า ไม่น่าจะมีปัญหาน้ำท่วมทะลักจากแม่น้ำเจ้าพระยาแน่นอน เพราะว่าน้ำเจ้าพระยาจะไม่ทะลักเข้า กทม.ชั้นใน ที่มีคันกันน้ำที่สร้างมานานและมีความแข็งแรง รวมไปถึงถนนต่างๆ ที่ออกแบบเพื่อป้องกันน้ำท่วม ดังนั้น กทม.ชั้นใน ไม่ว่าจะเป็น สุขุมวิท ลาดพร้าว บางกะปิ หากเกิดปัญหาน้ำท่วมจะมาจากน้ำท่วมขังจากฝนที่ระบายไม่ทันมากกว่า</p><p><br /></p><p> ความมั่นใจของ อดีตอธิบดีกรมชลประทานสอดคล้องกับความมั่นใจของ ณรงค์ จิรสรรพคุณากร ผอ.กองสารสนเทศระบายน้ำ สำนักการระบายน้ำ กทม. ซึ่งถือเป็นผู้ปฏิบัติงานโดยตรง</p><p><br /></p><p> เขาอธิบายว่า กทม. ตั้งศูนย์ควบคุมระบบป้องกันระบบน้ำท่วม ซึ่งติดตามสถานการณ์น้ำตั้งแต่จังหวัดนครสวรรค์ และตรวจสอบเส้นทางน้ำที่จะเข้าสู่ กทม. รวมถึงประตูน้ำในทุกๆ ด้าน ซึ่งมีการพัฒนาและวางระบบป้องกันน้ำท่วม ซึ่งได้ทำมาเป็นเวลากว่า 20 ปีแล้ว</p><p> ในงาน ป้องกันน้ำท่วม ได้แบ่ง กทม. เป็น 4 ส่วน 1.ฝั่งธนบุรี 2.กทม.ในคันกั้นน้ำ 3.กทม.นอกคันกั้นน้ำ ซึ่งหมายถึง เขตมีนบุรี หนองจอก คลองสามวา และลาดกระบัง และ 4.เขตติดแม่น้ำเจ้าพระยา</p><p><br /></p><p> ส่วนของฝั่งธนบุรีนั้น จะต้องรับน้ำจาก จ.นนทบุรี และนครปฐม ได้มีการวางระบบระบายโดยใช้คลองทวีวัฒนา และคลองมหาสวัสดิ์ เพื่อผันน้ำออกแม่น้ำท่าจีน โดยจะมีประตูน้ำอยู่บริเวณคลองมหาสวัสดิ์ที่จะรับน้ำจาก จ.นนทบุรี โดยน้ำจะถูกระบายตามคลองย่อยมาเก็บไว้ที่แก้มลิง "คลองสนามชัย" ซึ่งมีพื้นที่ 76.42 ตารางกิโลเมตร</p><p><br /></p><p> ขณะที่แนวรับอยู่ที่ คลองรังสิต ซึ่งจะรับมาจากคลองย่อยต่างๆ ซึ่งจะมีแนวประตูกั้นน้ำอยู่ตามแต่ละคลอง จนถึงบริเวณคลองหก และยังมีการกั้นประตูน้ำส่วนหนึ่งอยู่ที่ หลักหก ปทุมธานี ซึ่งสามารถรับน้ำและระบายออกในทาง กทม.ตะวันออก และ มีส่วนหนึ่งจะผันลงอุโมงค์ยักษ์ระบายน้ำของ กทม. และตามคลองย่อย ก็จะมีสถานีสูบน้ำเร่งระบายน้ำออกตามแนวแม่น้ำเจ้าพระยา </p><p><br /></p><p> ส่วน กทม. ฝั่งตะวันออก ณรงค์ บอกว่า ด้านบนซึ่งจะรับน้ำตามคลองต่างๆ ที่มาจาก จ.ปทุมธานี ก็จะมีประตูระบายน้ำ ส่วนที่อยู่นอกแนวคันกั้นน้ำนั้นก็ได้วางระบบระบายน้ำไว้ โดยส่วนหนึ่งจะผันออกเพื่อลงแม่น้ำบางปะกง โดยใช้คลองแสนแสบ คลองนครเนื่องเขต และคลองประเวศบุรีรมย์ ขณะที่อีกส่วนจะผันลงอ่าวไทย ผ่านคลองพระองค์เจ้าไชยานุชิต คลองจระเข้ใหญ่ คลองบางโฉลง คลองหนองงูเห่า และคลองลาดกระบัง ซึ่งแต่ละคลองก็จะมีสถานีสูบน้ำเพื่อเร่งระบายน้ำ</p><p><br /></p><p> ณรงค์ยืนยันว่าแม้เป็นช่วงน้ำหนุนสูง ก็ไม่น่ามีปัญหา เพราะขณะนี้ สถานการณ์น้ำเหนือนั้น ค่อนข้างทรงตัว ไม่เพิ่มมากขึ้น กทม.น่าจะรับมือไหว</p><p> ความกังวลของ กทม. นั้นยังมีอยู่ สองส่วนที่เห็นได้ชัดคือ จะมีเหตุการณ์ที่คาดการณ์ลำบากอย่างมีฝนตกเพิ่ม และมีการพังประตูน้ำ ซึ่งจะทำให้มีปัญหากับการจัดการน้ำ</p><p><br /></p><p>ขณะที่ ดร.รอยล จิตรดอน ผู้อำนวยการสถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (สสนก.) กล่าวว่า จากการประเมินสถานการณ์น้ำที่จะไหลเข้าท่วมพื้นที่ กทม.นั้น เชื่อว่าจะไม่วิกฤติมากนัก ซึ่งแม้จะมีน้ำไหลผ่านเข้ามาในเขตพื้นที่เสี่ยงของ กทม.ได้ก็ตาม แต่เนื่องจากพื้นที่ไม่ได้ใหญ่มากนัก กทม. ก็สามารถระดมเครื่องสูบน้ำระบายน้ำที่เข้าท่วมออกไปตามจุดผันคลองระบายน้ำต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งหากวิกฤติจริงอย่างน้อยระดับการท่วมขัง ก็อาจจะสูงสุดไม่เกินหนึ่งสัปดาห์เท่านั้น </p><p><br /></p><p>ระดับน้ำคลอง กทม.ปกติ</p><p><br /></p><p>lส่วนสถานการณ์ระดับน้ำในคลองหลักของ กทม. ล่าสุดวันที่ 12 ต.ค.พบว่าคลองต่างๆ ยังมีระดับปกติ ส่วนสถานการณ์น้ำในคลองสายหลักในพื้นที่กรุงเทพมหานคร พบว่ายังอยู่ในภาวะปกติ โดยที่คลองบางเขน ถ.กรุงเทพ-นนท์ ระดับน้ำอยู่ที่ 0.39 เมตร คลองบางเขน ถ.ประชาชื่น ระดับน้ำอยู่ที่ 0.10 เมตร คลองบางเขน ถ.วิภาวดี (ขาเข้า) ระดับน้ำอยู่ที่ 0.73 เมตร คลองบางพรม คลองชักพระ ระดับน้ำอยู่ที่ 0.65 เมตร คลองบางพรม คลองฉิมพลี ระดับอยู่ที่ 0.75 เมตร คลองบางพรม ถนนกาญจนภิเษก ระดับน้ำอยู่ที่ 0.85 เมตร คลองบางพรม ถนนพุทธมณฑลสาย 3 ระดับน้ำอยู่ที่ 0.94 เมตร คลองบางซื่อ ถ.พระรามที่ 5 ระดับน้ำอยู่ที่ 0.92 เมตร</p><p><br /></p><p><br /></p><p> คลองบางซื่อ ถ.พหลโยธิน ระดับน้ำอยู่ที่ 0.13 เมตร คลองบางซื่อ ถ.วิภาวดี (ขาเข้า) ระดับน้ำอยู่ที่ 0.03 เมตร คลองบางซื่อ ถ.รัชดาภิเษก ระดับน้ำอยู่ที่ 0.12 เมตร คลองบางแวก ถนนพุทธมณทลสาย 1 (วัดไชยฉิมพลี) ระดับน้ำอยู่ที่ 0.71 เมตร คลองบางแวก คลองทวีวัฒนา (สถานีสูบน้ำคลองบางแวก) ระดับน้ำอยู่ที่ 0.96 เมตร คลองเปรมประชากร วัดเทวสุนทร ดอนเมือง ระดับน้ำ 0.30 เมตร และ 0.82 เมตร ตามลำดับ คลองลาดพร้าว 0.32 เมตร คลองมหาสวัสดิ์ ถนนพุทธมณฑลสาย 2 ระดับน้ำ 1.82 เมตร แม่น้ำเจ้าพระยา ปากคลองตลอด 1.83 เมตร คลองแสนแสบ เสรีไทย 24 ระดับน้ำ 0.39 เมตร[/QUOTE]</p><p><br /></p>
[QUOTE="seila4club, post: 1785276, member: 1040"][IMG]http://www.bangkokbiznews.com/home/media/2011/10/13/images/news_img_413536_1.jpg[/IMG] สำรวจความคิดเห็น หลากนักวิชาการน้ำ..ปราโมทย์ ไม้กลัด ส่งสัยคนกทม'ตื่นกันทำไม'มั่นใจเจ้าพระยาไม่ทะลัก"รอยล"มั่นใจเมืองหลวงไม่วิกฤติ สถานการณ์น้ำท่วมในเขตเมืองหลายพื้นที่ ไม่ว่าจะเป็น อยุธยา นครสวรรค์ สร้างความตื่นตระหนกให้ชาวกรุงเทพมหานคร ที่หลายคนอยู่ในอาการ "จมข่าวน้ำท่วม" ความเครียดและตื่นตระหนกกระจายทั่วกรุงเทพมหานครอย่างรวดเร็ว "ผมไม่รู้ว่า จะตื่นกันไปทำไม" เสียงของ นายปราโมทย์ ไม้กลัด อดีตอธิบดีกรมชลประทาน ที่วันนี้แม้จะอยู่ในวัยเกษียณอายุ แต่ก็นั่งมอนิเตอร์ตรวจสอบปริมาณน้ำ พร้อมทั้งโทรศัพท์ ประสานแนะนำเจ้าหน้าที่กรมชลประทานในระดับปฏิบัติในฐานะผู้มีประสบการณ์ เขาอธิบายว่า จากการตรวจสอบสถานการณ์น้ำ ปิง วัง ยม และน่าน อยู่ในระดับทรงตัว รวมไปถึงการปล่อยน้ำของเขื่อนภูมิพล และเขื่อนสิริกิติ์ที่ลดปริมาณการปล่อยน้ำ ทำให้ ระดับน้ำที่ จ.นครสวรรค์ ปัจจุบัน อยู่ที่ระดับ 4,668 ลบ.ม. และในช่วง 1-2 วันนี้ระดับน้ำจะเพิ่มขึ้นมานิดหน่อยแต่ไม่มากนัก เพราะน้ำจากภาคเหนือไม่ไหลมาเพิ่มจึงไม่น่าเป็นห่วงมากนัก หลังจากนั้นเมื่อเข้ามาตรวจสอบ ระดับน้ำที่แม่น้ำเจ้าพระยา อยู่ที่ระดับ 3,660-3,500 ล้าน ลบ.ม.ซึ่งถือว่าอยู่ในระดับที่ทรงตัว ปริมาณฝนภาคเหนือ และบริเวณเจ้าพระยามีฝนตกบ้างแต่ไม่มากนัก จึงเชื่อได้ว่า สถานการณ์ปัญหาน้ำท่วม มีแนวโน้มที่ดีขึ้นไปเรื่อยๆ "ผมดูจากทุกปัจจัยแล้ว ทั้งน้ำเหนือ ซึ่งอยู่ในระดับที่ไม่น่าเป็นห่วงมากนัก ปริมาณฝนก็ไม่มากเช่นกัน เพราะฉะนั้นวิเคราะห์จากทุกปัจจัยมีแนวโน้มดีขึ้น เพราะฉะนั้นสถานการณ์ที่เหลือ จึงเป็นเรื่องที่ต้องประคับประคองและเร่งระบายน้ำลงสู่ทะเล" ส่วนสถานการณ์ที่ กทม. นายปราโมทย์บอกว่า ระดับน้ำในพื้นที่ กทม. อาจจะมีการปรับตัวเพิ่มขึ้นมาเล็กน้อย และลักษณะพฤติกรรมน้ำไม่ตาย คือมีน้ำขึ้นน้ำลงปกติ แสดงว่าการระบายยังสามารถทำได้ จึงไม่น่าห่วงอะไร พื้นที่ กทม.รอบนอก ฝั่งตะวันออกอาจจะได้รับผลกระทบจากการระบายน้ำลงสู่อ่าวไทยบ้าง แต่แตกต่างจาก จ.อยุธยา หรือลพบุรี "น้ำที่ท่วม กทม.ชั้นนอก จะไม่ท่วมแบบพรวดพราด ต่างจากอยุธยา ลพบุรี เพราะแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง กทม.มีลักษณะแตกต่างมีพื้นที่ราบที่เป็นลานกว้างให้น้ำแพร่กระจายเข้าไปได้" อย่างไรก็ตาม เขาเชื่อว่า แม้จะมีน้ำเออท่วม กทม.ชั้นนอกบ้างเช่น เขต หนองจอก มีนบุรี รังสิต ปทุมธานี หรือในพื้นที่บางกรวย ปากเกร็ด แต่ก็ไม่ท่วมขังในระยะเวลานาน เพราะ กทม.ได้ออกแบบระบบป้องกันน้ำท่วมมาและการระบายเอาไว้ดีพอสมควร ส่วนพื้นที่ กทม.ชั้นใน นายปราโมทย์ ค่อนข้างมั่นใจว่า ไม่น่าจะมีปัญหาน้ำท่วมทะลักจากแม่น้ำเจ้าพระยาแน่นอน เพราะว่าน้ำเจ้าพระยาจะไม่ทะลักเข้า กทม.ชั้นใน ที่มีคันกันน้ำที่สร้างมานานและมีความแข็งแรง รวมไปถึงถนนต่างๆ ที่ออกแบบเพื่อป้องกันน้ำท่วม ดังนั้น กทม.ชั้นใน ไม่ว่าจะเป็น สุขุมวิท ลาดพร้าว บางกะปิ หากเกิดปัญหาน้ำท่วมจะมาจากน้ำท่วมขังจากฝนที่ระบายไม่ทันมากกว่า ความมั่นใจของ อดีตอธิบดีกรมชลประทานสอดคล้องกับความมั่นใจของ ณรงค์ จิรสรรพคุณากร ผอ.กองสารสนเทศระบายน้ำ สำนักการระบายน้ำ กทม. ซึ่งถือเป็นผู้ปฏิบัติงานโดยตรง เขาอธิบายว่า กทม. ตั้งศูนย์ควบคุมระบบป้องกันระบบน้ำท่วม ซึ่งติดตามสถานการณ์น้ำตั้งแต่จังหวัดนครสวรรค์ และตรวจสอบเส้นทางน้ำที่จะเข้าสู่ กทม. รวมถึงประตูน้ำในทุกๆ ด้าน ซึ่งมีการพัฒนาและวางระบบป้องกันน้ำท่วม ซึ่งได้ทำมาเป็นเวลากว่า 20 ปีแล้ว ในงาน ป้องกันน้ำท่วม ได้แบ่ง กทม. เป็น 4 ส่วน 1.ฝั่งธนบุรี 2.กทม.ในคันกั้นน้ำ 3.กทม.นอกคันกั้นน้ำ ซึ่งหมายถึง เขตมีนบุรี หนองจอก คลองสามวา และลาดกระบัง และ 4.เขตติดแม่น้ำเจ้าพระยา ส่วนของฝั่งธนบุรีนั้น จะต้องรับน้ำจาก จ.นนทบุรี และนครปฐม ได้มีการวางระบบระบายโดยใช้คลองทวีวัฒนา และคลองมหาสวัสดิ์ เพื่อผันน้ำออกแม่น้ำท่าจีน โดยจะมีประตูน้ำอยู่บริเวณคลองมหาสวัสดิ์ที่จะรับน้ำจาก จ.นนทบุรี โดยน้ำจะถูกระบายตามคลองย่อยมาเก็บไว้ที่แก้มลิง "คลองสนามชัย" ซึ่งมีพื้นที่ 76.42 ตารางกิโลเมตร ขณะที่แนวรับอยู่ที่ คลองรังสิต ซึ่งจะรับมาจากคลองย่อยต่างๆ ซึ่งจะมีแนวประตูกั้นน้ำอยู่ตามแต่ละคลอง จนถึงบริเวณคลองหก และยังมีการกั้นประตูน้ำส่วนหนึ่งอยู่ที่ หลักหก ปทุมธานี ซึ่งสามารถรับน้ำและระบายออกในทาง กทม.ตะวันออก และ มีส่วนหนึ่งจะผันลงอุโมงค์ยักษ์ระบายน้ำของ กทม. และตามคลองย่อย ก็จะมีสถานีสูบน้ำเร่งระบายน้ำออกตามแนวแม่น้ำเจ้าพระยา ส่วน กทม. ฝั่งตะวันออก ณรงค์ บอกว่า ด้านบนซึ่งจะรับน้ำตามคลองต่างๆ ที่มาจาก จ.ปทุมธานี ก็จะมีประตูระบายน้ำ ส่วนที่อยู่นอกแนวคันกั้นน้ำนั้นก็ได้วางระบบระบายน้ำไว้ โดยส่วนหนึ่งจะผันออกเพื่อลงแม่น้ำบางปะกง โดยใช้คลองแสนแสบ คลองนครเนื่องเขต และคลองประเวศบุรีรมย์ ขณะที่อีกส่วนจะผันลงอ่าวไทย ผ่านคลองพระองค์เจ้าไชยานุชิต คลองจระเข้ใหญ่ คลองบางโฉลง คลองหนองงูเห่า และคลองลาดกระบัง ซึ่งแต่ละคลองก็จะมีสถานีสูบน้ำเพื่อเร่งระบายน้ำ ณรงค์ยืนยันว่าแม้เป็นช่วงน้ำหนุนสูง ก็ไม่น่ามีปัญหา เพราะขณะนี้ สถานการณ์น้ำเหนือนั้น ค่อนข้างทรงตัว ไม่เพิ่มมากขึ้น กทม.น่าจะรับมือไหว ความกังวลของ กทม. นั้นยังมีอยู่ สองส่วนที่เห็นได้ชัดคือ จะมีเหตุการณ์ที่คาดการณ์ลำบากอย่างมีฝนตกเพิ่ม และมีการพังประตูน้ำ ซึ่งจะทำให้มีปัญหากับการจัดการน้ำ ขณะที่ ดร.รอยล จิตรดอน ผู้อำนวยการสถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (สสนก.) กล่าวว่า จากการประเมินสถานการณ์น้ำที่จะไหลเข้าท่วมพื้นที่ กทม.นั้น เชื่อว่าจะไม่วิกฤติมากนัก ซึ่งแม้จะมีน้ำไหลผ่านเข้ามาในเขตพื้นที่เสี่ยงของ กทม.ได้ก็ตาม แต่เนื่องจากพื้นที่ไม่ได้ใหญ่มากนัก กทม. ก็สามารถระดมเครื่องสูบน้ำระบายน้ำที่เข้าท่วมออกไปตามจุดผันคลองระบายน้ำต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งหากวิกฤติจริงอย่างน้อยระดับการท่วมขัง ก็อาจจะสูงสุดไม่เกินหนึ่งสัปดาห์เท่านั้น ระดับน้ำคลอง กทม.ปกติ lส่วนสถานการณ์ระดับน้ำในคลองหลักของ กทม. ล่าสุดวันที่ 12 ต.ค.พบว่าคลองต่างๆ ยังมีระดับปกติ ส่วนสถานการณ์น้ำในคลองสายหลักในพื้นที่กรุงเทพมหานคร พบว่ายังอยู่ในภาวะปกติ โดยที่คลองบางเขน ถ.กรุงเทพ-นนท์ ระดับน้ำอยู่ที่ 0.39 เมตร คลองบางเขน ถ.ประชาชื่น ระดับน้ำอยู่ที่ 0.10 เมตร คลองบางเขน ถ.วิภาวดี (ขาเข้า) ระดับน้ำอยู่ที่ 0.73 เมตร คลองบางพรม คลองชักพระ ระดับน้ำอยู่ที่ 0.65 เมตร คลองบางพรม คลองฉิมพลี ระดับอยู่ที่ 0.75 เมตร คลองบางพรม ถนนกาญจนภิเษก ระดับน้ำอยู่ที่ 0.85 เมตร คลองบางพรม ถนนพุทธมณฑลสาย 3 ระดับน้ำอยู่ที่ 0.94 เมตร คลองบางซื่อ ถ.พระรามที่ 5 ระดับน้ำอยู่ที่ 0.92 เมตร คลองบางซื่อ ถ.พหลโยธิน ระดับน้ำอยู่ที่ 0.13 เมตร คลองบางซื่อ ถ.วิภาวดี (ขาเข้า) ระดับน้ำอยู่ที่ 0.03 เมตร คลองบางซื่อ ถ.รัชดาภิเษก ระดับน้ำอยู่ที่ 0.12 เมตร คลองบางแวก ถนนพุทธมณทลสาย 1 (วัดไชยฉิมพลี) ระดับน้ำอยู่ที่ 0.71 เมตร คลองบางแวก คลองทวีวัฒนา (สถานีสูบน้ำคลองบางแวก) ระดับน้ำอยู่ที่ 0.96 เมตร คลองเปรมประชากร วัดเทวสุนทร ดอนเมือง ระดับน้ำ 0.30 เมตร และ 0.82 เมตร ตามลำดับ คลองลาดพร้าว 0.32 เมตร คลองมหาสวัสดิ์ ถนนพุทธมณฑลสาย 2 ระดับน้ำ 1.82 เมตร แม่น้ำเจ้าพระยา ปากคลองตลอด 1.83 เมตร คลองแสนแสบ เสรีไทย 24 ระดับน้ำ 0.39 เมตร[/QUOTE]
เข้าสู่ระบบด้วย Facebook
เข้าสู่ระบบด้วย Twitter
เข้าสู่ระบบด้วย Google
ชื่อผู้ใช้งานหรือที่อยู่อีเมล์ของคุณ:
คุณมีบัญชีผู้ใช้หรือไม่?
ไม่มี, สร้างบัญชีผู้ใช้ตอนนี้
มี, รหัสผ่านของฉันคือ:
ลืมรหัสผ่านของคุณ?
อยู่ในระบบตลอดเวลา
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
ฟอรั่ม
>
RacingWeb Community
>
Racing Forum (Cars Forum)
>
ไอเดียดีๆ ป้องกันรถของคุณจากน้ำท่วมง่ายๆ และ เตือนป้องกันน้ำท่วม (อัพเกรดเรื่อยๆ)
>
X
หน้าแรก
หน้าแรก
Quick Links
โพสต์ล่าสุด
กิจกรรมล่าสุด
ผู้เขียน
ฟอรั่ม
ฟอรั่ม
Quick Links
ค้นหาฟอรั่ม
โพสต์ล่าสุด
ประกาศซื้อขาย
ประกาศซื้อขาย
Quick Links
ค้นหาประกาศซื้อขาย
กิจกรรมล่าสุด
ผู้ค้าขายคะแนนสูงสุด
สื่อ/วิดีโอ
สื่อ/วิดีโอ
Quick Links
Search Media
New Media
สมาชิก
สมาชิก
Quick Links
สมาชิกที่โดดเด่น
สมาชิกที่ลงทะเบียน
ผู้ใช้งานในขณะนี้
กิจกรรมล่าสุด
โพสต์ข้อมูลส่วนตัวใหม่
เมนู
ค้นหาเฉพาะชื่อ
โพสต์โดยสมาชิก:
แยกชื่อด้วยเครื่องหมายจุลภาค
ใหม่กว่า:
ค้นหาเฉพาะหัวข้อนี้
ค้นหาเฉพาะฟอรั่มนี้
แสดงผลเป็นหัวข้อ
การค้นหาที่มีประโยชน์
โพสต์ล่าสุด
เพิ่มเติม...