เข้าสู่ระบบหรือลงทะเบียน
ติดต่อลงโฆษณา
[email protected]
หรือโทร. 081-811-1138 หรืออ่านรายละเอียดเพิ่มเติม คลิกที่นี่
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
ฟอรั่ม
>
Community Car Clubs
>
American Car Clubs
>
Neon Club Thailand
>
ข้อมูล Chrysler Neon2.0
>
ตอบกลับหัวข้อ
ชื่อ:
การตรวจสอบ:
กรุณาเปิดใช้งานจาวาสคริปต์เพื่อดำเนินการต่อ
กำลังโหลด...
ข้อความ:
<p>[QUOTE="neon_8151, post: 1442499, member: 82062"]ข้อเสียและจุดเสีย(ที่พบส่วนตัวเท่านั้น)</p><p>1. การดูแลรักษาจากผู้นำเข้าตั้งแต่เป็นรถใหม่ใช้น้ำมันเครื่องเบอร์ 5W-30 แถมเปลี่ยนถ่ายทุก 1 หมื่นโล จึงไม่เหมาะกับเมืองร้อนอย่างบ้านเราทำให้เกิดการสึกหรอของเครื่องยนต์สูง กว่าจะหมดประกันก็ 2 ปี คันไหนยังเข้ารับบริการอยู่ต่อไปพอเข้าปีที่ 4 รถ</p><p> จะวิ่งไม่ออก-ซดน้ำมันทั้งน้ำมันเบนซินและน้ำมันเครื่อง แต่ถ้าคันไหนพอเลยระยะประกันแล้วออกมาดูแลเองข้างนอกมักจะเกิดปัญหาช้ากว่าราวปีที่ 6 ซึ่งก็จัดว่าไม่ผิดปกติเท่าไหร่</p><p>2. จากข้อที่ 1 นั้นการตั้งวาล์วของน้องออนต้องอาศัยแรงดันน้ำมันเครื่องเมื่อใช้น้ำมันเครื่องใสเกินไปก็ส่งผลถึงระบบปรับตั้งวาล์วด้วยยิ่งมาเจอระบบลูกปืนที่ใช้เชื่อมจุดสัมผัสทำให้กว่าจะรู้ตัวหรือกว่าเสียงแขกจะโผล่มาให้ได้ยินมันก็โทรมสุดๆแล้วชนิดว่า</p><p> วาล์วสึก-ก้านคด-ลูกปืนแตก-สปริงตาย เสียง 160 แต่รถวิ่งแค่ 70 อะไรประมาณนั้นซึ่งเป็นปัญหาคลาสสิคปัญหาหนึ่งของระบบปรับตั้งวาล์วอัตโนมัติ</p><p>3. แม้เครื่องยนต์จะสามารถลากรอบได้จัดก็จริงแต่จุดประสงค์หลักก็ยังเป็นการใช้งานในรอบต่ำช่วง 1500-3000 รอบ หรือ 60-110 อยู่ดี ดังนั้นถ้าลากรอบหรือขับเกินกว่านั้นมันจะซดชนิดเกจ์ตกเห็นๆกันเลยทีเดียว ยิ่งถ้าลากแช่เกิน 4000 รอบไปอันนี้ทำได้ </p><p> 5 กม/ล.นี่ถือว่าประหยัดแล้ว การเร่งที่จะให้ประหยัดจึงควรค่อยเป็นค่อยไปกดคันเร่งเรื่อยๆช้าๆสม่ำเสมอจะดีกว่า(แต่อดใจไม่ไหวหรอกเชื่อเหอะ)</p><p>4. จุดเสียบปลั๊กตรงเซ็นเซอร์ที่ปีกผีเสื้อเมื่อยางหุ้มขั้วเปื่อยจึงมีความชื้นเข้าไปที่จุดต่อของปลั๊กเซนต์เซอร์จนเป็นสนิมทำให้เครื่องสะดุดชนิดหาสาเหตุไม่เจอ</p><p>5. สายหัวเทียนที่ติดรถมาเดิมๆตรงปอกกับสายไม่ได้หล่อหรือยึดติดเป็นชิ้นเดียวกันสามารถขยับได้เล็กน้อยเมื่อถอดขัดหรือเปลี่ยนหัวเทียนบ่อยๆทำให้เกิดสายขาดในได้ง่ายๆขับๆอยู่เครื่องกระตุกแรงๆหรือรถจอดติดไฟแดงอยู่เครื่องดับไปเฉยๆก็มี ทิ้งไว้ซัก</p><p> พักติดเครื่องใหม่ก็เป็นปกตินี่ซิมันแสบ อันนี้กว่าจะหาเจอเล่นอยู่หลายวันทีเดียว แต่ถ้าเปลี่ยนมาใช้สายหัวเทียนรุ่นที่ดีหน่อยหรือแบบที่หัวกับสายหล่อเป็นชิ้นเดียวกันปัญหานี้จะไม่เกิดอีกเลยอย่างน้อยก็ผ่านอีก 5หมื่นโลไปได้</p><p>6. สายไฟในห้องเครื่องกรอบ-แตก-ช็อตลงกราวด์หรือ-ช็อตกันเองบางทีก็ควันกลบห้องเครื่องไปเลย ราวปีที่ 4-6 น่าจะมาจากการใช้วัสดุเกรดเมืองหนาวทำให้ไม่ทนทานต่อความร้อน ซึ่งวัสดุพวงนี้น่าจะทนทานมากกว่านี้ไม่น่าจะเกิดปัญหาแค่อายุรถ 5ปี ยิ่ง</p><p> อัดบ่อยๆที่ห้องเครื่องร้อนนานๆก็ยิ่งเร่งให้เกิดปัญหาเร็วขึ้นพยามตรวจจุดต่อสายไฟกับมันสายไฟที่มัดรวมกันบ่อยๆก็ดีว่าตรงไหนเริ่มบวมหรือเกิดรอยอาร์คควรเปลี่ยนใหม่ทันที</p><p>7. เช่นเดียวกับข้อ 6 คือกล่องสมองเสียราวปีที่ 5 อาการคือรถเร่งไม่ขึ้น-เครื่องน็อค-น้ำมันท่วม-กดคันเร่งแล้วเครื่องสะดุด-สุดท้ายสตาร์ทไม่ติด แต่ยังไม่เคยเจอว่ามันเสียจริงๆเท่าที่เห็นคือลายวงจรในแผ่นปริ๊นท์มันขาดเฉยๆเนื่องจากเส้นมันเล็กและบางมาก</p><p> เมื่อร้อนมากๆก็ขาด(แต่ฟิวส์ไม่ขาด)แค่ต่อวงจรใหม่ก็ใช้ได้และที่เจอเพราะตอนนั้นหากล่องไม่ได้เลยรื้อออกมาดู..อุอุ..อันนี้ฟลุ๊ค ถ้าเจอปัญหาเช่นนี้หรือช่างวิเคราะห์ว่ากล่องเสียก่อนที่จะควักเงิน 1.4 หมื่นไปซื้อมือสองมาลองเสียเวลาถอดดูซักนิดอาจจะเจอ</p><p> ลักษณะเดียวกันได้ครับ</p><p>8. อะไหล่หายาก-เทียบยาก-และแพงมาก ของมือสองก็ต้องสั่งและต้องรอ ส่วนของใหม่ก็ต้องรอเช่นกันแถมเจ้าของรถได้ยินราคาเท่านั้นหน้าซีดแล้วซีดอีก</p><p>9. หาช่างซ่อมยากเพราะส่วนใหญ่เห็นรถก็ถอดใจกันแล้ว แต่ถ้ากล้าจับมันจะพบว่ามันไม่ได้มีอะไรลึกลับซับซ้อนเท่าไหร่ พวกเครื่องยนต์และช่วงล่างก็คล้ายๆลูกผสมของมิตซูกับมาสด้า มองดีๆนึกว่าแลนเซอร์แชมป์ด้วยซ้ำไป ซึ่งถ้าเป็นช่างมาสด้าโดยเฉพาะหรือช่างมิตซูโดยเฉพาะมาจับตัวนี้ก็อาจจะเล่นยากหน่อย แต่ถ้าเป็นช่างจับฉ่ายเคยจับทั้งมาสด้ากับมิตซูมาถ้าไม่ถอดใจก่อนสามารถซ่อมตัวนี้ได้แถมยิ่งเคยจับเปอร์โย-โอเปิล-เรโนล์มาด้วยแจ๋วเลย ว่าไปว่ามาสรุปคือหาช่างซ่อมมันยากนั่นแหละเพราะตัวนี้มันผสมมาเยอะเหมือนกัน[/QUOTE]</p><p><br /></p>
[QUOTE="neon_8151, post: 1442499, member: 82062"]ข้อเสียและจุดเสีย(ที่พบส่วนตัวเท่านั้น) 1. การดูแลรักษาจากผู้นำเข้าตั้งแต่เป็นรถใหม่ใช้น้ำมันเครื่องเบอร์ 5W-30 แถมเปลี่ยนถ่ายทุก 1 หมื่นโล จึงไม่เหมาะกับเมืองร้อนอย่างบ้านเราทำให้เกิดการสึกหรอของเครื่องยนต์สูง กว่าจะหมดประกันก็ 2 ปี คันไหนยังเข้ารับบริการอยู่ต่อไปพอเข้าปีที่ 4 รถ จะวิ่งไม่ออก-ซดน้ำมันทั้งน้ำมันเบนซินและน้ำมันเครื่อง แต่ถ้าคันไหนพอเลยระยะประกันแล้วออกมาดูแลเองข้างนอกมักจะเกิดปัญหาช้ากว่าราวปีที่ 6 ซึ่งก็จัดว่าไม่ผิดปกติเท่าไหร่ 2. จากข้อที่ 1 นั้นการตั้งวาล์วของน้องออนต้องอาศัยแรงดันน้ำมันเครื่องเมื่อใช้น้ำมันเครื่องใสเกินไปก็ส่งผลถึงระบบปรับตั้งวาล์วด้วยยิ่งมาเจอระบบลูกปืนที่ใช้เชื่อมจุดสัมผัสทำให้กว่าจะรู้ตัวหรือกว่าเสียงแขกจะโผล่มาให้ได้ยินมันก็โทรมสุดๆแล้วชนิดว่า วาล์วสึก-ก้านคด-ลูกปืนแตก-สปริงตาย เสียง 160 แต่รถวิ่งแค่ 70 อะไรประมาณนั้นซึ่งเป็นปัญหาคลาสสิคปัญหาหนึ่งของระบบปรับตั้งวาล์วอัตโนมัติ 3. แม้เครื่องยนต์จะสามารถลากรอบได้จัดก็จริงแต่จุดประสงค์หลักก็ยังเป็นการใช้งานในรอบต่ำช่วง 1500-3000 รอบ หรือ 60-110 อยู่ดี ดังนั้นถ้าลากรอบหรือขับเกินกว่านั้นมันจะซดชนิดเกจ์ตกเห็นๆกันเลยทีเดียว ยิ่งถ้าลากแช่เกิน 4000 รอบไปอันนี้ทำได้ 5 กม/ล.นี่ถือว่าประหยัดแล้ว การเร่งที่จะให้ประหยัดจึงควรค่อยเป็นค่อยไปกดคันเร่งเรื่อยๆช้าๆสม่ำเสมอจะดีกว่า(แต่อดใจไม่ไหวหรอกเชื่อเหอะ) 4. จุดเสียบปลั๊กตรงเซ็นเซอร์ที่ปีกผีเสื้อเมื่อยางหุ้มขั้วเปื่อยจึงมีความชื้นเข้าไปที่จุดต่อของปลั๊กเซนต์เซอร์จนเป็นสนิมทำให้เครื่องสะดุดชนิดหาสาเหตุไม่เจอ 5. สายหัวเทียนที่ติดรถมาเดิมๆตรงปอกกับสายไม่ได้หล่อหรือยึดติดเป็นชิ้นเดียวกันสามารถขยับได้เล็กน้อยเมื่อถอดขัดหรือเปลี่ยนหัวเทียนบ่อยๆทำให้เกิดสายขาดในได้ง่ายๆขับๆอยู่เครื่องกระตุกแรงๆหรือรถจอดติดไฟแดงอยู่เครื่องดับไปเฉยๆก็มี ทิ้งไว้ซัก พักติดเครื่องใหม่ก็เป็นปกตินี่ซิมันแสบ อันนี้กว่าจะหาเจอเล่นอยู่หลายวันทีเดียว แต่ถ้าเปลี่ยนมาใช้สายหัวเทียนรุ่นที่ดีหน่อยหรือแบบที่หัวกับสายหล่อเป็นชิ้นเดียวกันปัญหานี้จะไม่เกิดอีกเลยอย่างน้อยก็ผ่านอีก 5หมื่นโลไปได้ 6. สายไฟในห้องเครื่องกรอบ-แตก-ช็อตลงกราวด์หรือ-ช็อตกันเองบางทีก็ควันกลบห้องเครื่องไปเลย ราวปีที่ 4-6 น่าจะมาจากการใช้วัสดุเกรดเมืองหนาวทำให้ไม่ทนทานต่อความร้อน ซึ่งวัสดุพวงนี้น่าจะทนทานมากกว่านี้ไม่น่าจะเกิดปัญหาแค่อายุรถ 5ปี ยิ่ง อัดบ่อยๆที่ห้องเครื่องร้อนนานๆก็ยิ่งเร่งให้เกิดปัญหาเร็วขึ้นพยามตรวจจุดต่อสายไฟกับมันสายไฟที่มัดรวมกันบ่อยๆก็ดีว่าตรงไหนเริ่มบวมหรือเกิดรอยอาร์คควรเปลี่ยนใหม่ทันที 7. เช่นเดียวกับข้อ 6 คือกล่องสมองเสียราวปีที่ 5 อาการคือรถเร่งไม่ขึ้น-เครื่องน็อค-น้ำมันท่วม-กดคันเร่งแล้วเครื่องสะดุด-สุดท้ายสตาร์ทไม่ติด แต่ยังไม่เคยเจอว่ามันเสียจริงๆเท่าที่เห็นคือลายวงจรในแผ่นปริ๊นท์มันขาดเฉยๆเนื่องจากเส้นมันเล็กและบางมาก เมื่อร้อนมากๆก็ขาด(แต่ฟิวส์ไม่ขาด)แค่ต่อวงจรใหม่ก็ใช้ได้และที่เจอเพราะตอนนั้นหากล่องไม่ได้เลยรื้อออกมาดู..อุอุ..อันนี้ฟลุ๊ค ถ้าเจอปัญหาเช่นนี้หรือช่างวิเคราะห์ว่ากล่องเสียก่อนที่จะควักเงิน 1.4 หมื่นไปซื้อมือสองมาลองเสียเวลาถอดดูซักนิดอาจจะเจอ ลักษณะเดียวกันได้ครับ 8. อะไหล่หายาก-เทียบยาก-และแพงมาก ของมือสองก็ต้องสั่งและต้องรอ ส่วนของใหม่ก็ต้องรอเช่นกันแถมเจ้าของรถได้ยินราคาเท่านั้นหน้าซีดแล้วซีดอีก 9. หาช่างซ่อมยากเพราะส่วนใหญ่เห็นรถก็ถอดใจกันแล้ว แต่ถ้ากล้าจับมันจะพบว่ามันไม่ได้มีอะไรลึกลับซับซ้อนเท่าไหร่ พวกเครื่องยนต์และช่วงล่างก็คล้ายๆลูกผสมของมิตซูกับมาสด้า มองดีๆนึกว่าแลนเซอร์แชมป์ด้วยซ้ำไป ซึ่งถ้าเป็นช่างมาสด้าโดยเฉพาะหรือช่างมิตซูโดยเฉพาะมาจับตัวนี้ก็อาจจะเล่นยากหน่อย แต่ถ้าเป็นช่างจับฉ่ายเคยจับทั้งมาสด้ากับมิตซูมาถ้าไม่ถอดใจก่อนสามารถซ่อมตัวนี้ได้แถมยิ่งเคยจับเปอร์โย-โอเปิล-เรโนล์มาด้วยแจ๋วเลย ว่าไปว่ามาสรุปคือหาช่างซ่อมมันยากนั่นแหละเพราะตัวนี้มันผสมมาเยอะเหมือนกัน[/QUOTE]
เข้าสู่ระบบด้วย Facebook
เข้าสู่ระบบด้วย Twitter
เข้าสู่ระบบด้วย Google
ชื่อผู้ใช้งานหรือที่อยู่อีเมล์ของคุณ:
คุณมีบัญชีผู้ใช้หรือไม่?
ไม่มี, สร้างบัญชีผู้ใช้ตอนนี้
มี, รหัสผ่านของฉันคือ:
ลืมรหัสผ่านของคุณ?
อยู่ในระบบตลอดเวลา
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
ฟอรั่ม
>
Community Car Clubs
>
American Car Clubs
>
Neon Club Thailand
>
ข้อมูล Chrysler Neon2.0
>
X
หน้าแรก
หน้าแรก
Quick Links
โพสต์ล่าสุด
กิจกรรมล่าสุด
ผู้เขียน
ฟอรั่ม
ฟอรั่ม
Quick Links
ค้นหาฟอรั่ม
โพสต์ล่าสุด
ประกาศซื้อขาย
ประกาศซื้อขาย
Quick Links
ค้นหาประกาศซื้อขาย
กิจกรรมล่าสุด
ผู้ค้าขายคะแนนสูงสุด
สื่อ/วิดีโอ
สื่อ/วิดีโอ
Quick Links
Search Media
New Media
สมาชิก
สมาชิก
Quick Links
สมาชิกที่โดดเด่น
สมาชิกที่ลงทะเบียน
ผู้ใช้งานในขณะนี้
กิจกรรมล่าสุด
โพสต์ข้อมูลส่วนตัวใหม่
เมนู
ค้นหาเฉพาะชื่อ
โพสต์โดยสมาชิก:
แยกชื่อด้วยเครื่องหมายจุลภาค
ใหม่กว่า:
ค้นหาเฉพาะหัวข้อนี้
ค้นหาเฉพาะฟอรั่มนี้
แสดงผลเป็นหัวข้อ
การค้นหาที่มีประโยชน์
โพสต์ล่าสุด
เพิ่มเติม...