เข้าสู่ระบบหรือลงทะเบียน
ติดต่อลงโฆษณา
[email protected]
หรือโทร. 081-811-1138 หรืออ่านรายละเอียดเพิ่มเติม คลิกที่นี่
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
ฟอรั่ม
>
Community Car Clubs
>
Mitsubishi Car Clubs
>
Evolution Thailand
>
สรุป ; ประเด็น การตรวจสภาพ ตรอ. ตามกฎหมายใหม่ บังคับใช้ 17 มิ.ย. 52 กับ รถยนต์ ขับเคลื่อนสี่ล้อ ตลอด
>
ตอบกลับหัวข้อ
ชื่อ:
การตรวจสอบ:
กรุณาเปิดใช้งานจาวาสคริปต์เพื่อดำเนินการต่อ
กำลังโหลด...
ข้อความ:
<p>[QUOTE="พัทยา@MRC#012, post: 1175097, member: 9244"]ส่วนหลักการ ของ ระบบส่งกำลัง ที่สงสัย</p><p>คงต้องอธิบายพร้อมรูปประกอบครับ ผมไม่มีรูปประกอบแต่จะอธิบายคร่าวๆให้ก่อนครับ</p><p>จะพยายามอธิบายให้เข้าใจง่ายๆก่อนครับ เพราะผมก็ไม่ค่อยมีความรู้เรื่องเกียร์มากเท่าไรนัก</p><p>เลยไม่สามารถอธิบายละเอียดมากนักได้</p><p><br /></p><p>1. Certer Differential ในระบบ AWD Full Time</p><p>เป็นชุดเกียร์ที่ ทำหน้าที่ทดอัตราส่งกำลังของเกียร์ เพื่อให้เพลาคู่หน้า และเพลากลาง สามารถทำงานในภาระและอัตราทดที่ออกแบบไว้ ซึ่ง ของอีโวลูชั่นส่วนมากจะออกแบบไว้ ที่ 50-50 (อันนี้ผมจำเปอร์เซ็นต์ไม่ได้แน่นักครับ)</p><p>คร่าวๆคือ เจ้าตัวนี้ เป็นชุดเฟืองที่กระจายและกำหนดกำลังให้ถ่ายกำลังกัน ระหว่างเพลาหน้า-เพลากลางครับ</p><p>พวกอาการดึงหน้า-ดึงหลัง และอาการโดดเวลาออกตัว ก็มาจากเจ้าชุดเฟืองตัวนี้แหละครับ</p><p>การจะอุดเป็นขับสองก็ต้องจัดการเจ้าเฟืองตัวนี้ด้วยครับ</p><p><br /></p><p>ถ้าเราปั่น ล้อคู่ใดคู่หนึ่ง ด้วยแรงบิดที่มากในระดับหนึ่ง </p><p>มันจะทำให้เจ้าชุดเฟืองใน Certer Differential เกิดการขัดและงัดตัวกันเกิดขึ้น</p><p>ถ้าหมุนเบาๆแบบเอาแม่แรงยก เพื่อเปลี่ยนล้อมันจะไม่มีแรงงัดกันเท่าไร</p><p>มันยังมีน้ำมันในห้องเกียร์ช่วยหล่อลื่นและลดการเสียดสีได้ สบายๆครับ </p><p>ฉะนั้นเวลาเรายกรถเปลี่ยนล้อ จึงสามารถหมุนล้อเล่นได้</p><p>แต่จะหนักมากเท่านั้นเองครับ</p><p>แต่ถ้าเราลากรถเป็นระยะทางไกล หรือ ใช้เจ้าลูกกลิ้งปั่นล้อเป็นเวลานานๆ เจ้าเฟืองในชุดCerter Differential นี้แหละครับ</p><p>จะงัดกันจนไหม้และเฟืองแตกหักเสียหายไปก่อน</p><p>มันจึงเป็น สาเหตุที่ AWD Full Time ลากไกลๆ ไม่ได้นั่นเองครับ</p><p><br /></p><p>อาการเวลาเสียคือ เวลาน้องเปลี่ยนเกียร์แบบธรรมดา รถจะกระชากดึงหน้า-ดึงหลัง นั่นแหละครับ แสดงว่าเจ้าชุดเฟืองCerter Differential เสียหายไปเรียบร้อยแล้วครับ</p><p><br /></p><p>2. เกียร์ฝาก หรือ Transfer Gear </p><p>มีหน้าที่ถ่ายกำลังจากเกียร์ด้านหน้า ผ่านเพลากลางไปยังเฟืองท้ายครับ</p><p>ซึ่งปกติเกียร์ฝากจะถูกออกแบบแตกต่างกันในรถแต่ละประเภทเช่น พวกรถขับหลังเกียร์ฝากอาจจะอยู่ในห้องเกียร์ใหญ่เลยได้ครับ</p><p>แต่ของ อีโวเราจะมีเกียร์ฝากแยกออกมาอีก 1 ชุด ซึ่งอีโวบางรุ่นมีเกียร์ฝากที่เปราะบางมากครับ เช่นพวก GT-A ทั้งหลาย</p><p>แม้กระทั่งอีโว 1-6 ที่มีชุดเกียร์ฝากแข็งแรง หากเราโดดออกตัวแรงๆบ่อยๆ ก็พังได้ครับ</p><p><br /></p><p>ปัญหาคือ เวลาเราใส่ LS.D. หน้าที่มีเปอร์เซ็นต์จับหนัก โดยเฉพาะพวก 2 WAY เวลา</p><p>มันจะพยายามตะกรุย ให้เกียร์ฝากทำงานพร้อมกันไปด้วยครับ โอกาสเสียหายจึงมี แต่ผมคิดว่า Center Diff และ LS.D. คงพังก่อนครับ</p><p>ยกเว้นมันงัดกันจนเสื้อเกียร์ฝากแตกแทนครับ</p><p><br /></p><p>อาการเวลา เกียร์ฝากหรือ Transfer Gear เริ่มเสียคือ มันจะไม่มีกำลังไปที่ล้อหลัง หรือมีแต่มีไม่เต็มครับ ทำให้รถวิ่งไม่ออกและมีเสียงเฟืองงัดกันตลอดเวลาใต้คอนโซลเกียร์ครับ</p><p><br /></p><p>ซึ่งเจ้าตัวเกียร์ฝาก นี้เอง เวลาเราเข็นรถ หรือ ลากรถ จะทำให้เพลากลางหมุนตามไปด้วย</p><p>ซึ่งในกรณีที่ เรานำขึ้นลูกกลิ้งทดสอบ เกียร์ฝากและเพลากลางก็จะพยายามหมุนตามไปด้วย เราจึงเห็นว่าล้อหลังมันก็พยายามตะกรุยครับ</p><p>ซึ่งในเคส ของ FORTUNER ระบบเกียร์ฝากไม่เหมือนกับอีโวครับ เหมือนเราขึ้นเครื่องทดสอบใน โหมด ขับสี่</p><p>ลูกกลิ้งมันจะหมุน สวนทางกัน ทำให้เกียร์ฝากและเพลากลางไม่หมุน</p><p>แต่ของอีโว หมุนตามแน่นอนครับ แต่ถ้าทดสอบแรงบิดน้อยๆ ช่วงสั้น สามารถรับภาระได้ครับ</p><p>แต่ถ้ามี L.S.D. ด้วยก็พังครับ ต้องลองทดสอบด้วยโหมด ขับหน้าปกติแทน ครับ </p><p><br /></p><p><br /></p><p>3.. Limited Slip Differential</p><p>จะเป็นชุดเฟืองที่ทำหน้าที่ จับการทำงานของเพลาซ้าย-ขวา ให้ทำงานพร้อมกัน ตะกรุยพร้อมกัน โดยไม่ฟรีทิ้งครับ</p><p>ซึ่งรถปกติ สมมุติว่ารถติดหล่ม เพลาล้อฝั่งที่รับภาระมากจะทำหน้าที่ตะกรุยตลอดเวลา ในขณะที่อีกฝั่งจะฟรีทิ้งครับ</p><p>แต่เมื่อมี L.S.D. เพลาซ้าย-ขวา มันจะหมุนพร้อมกันทั้ง2ข้างครับ จะเห็นชัดเจนในทางตรง เพราะมันจะตะกรุยซ้าย-ขวาพร้อมกัน</p><p>ทำให้ออกตัวได้ดีกว่า ไม่มี L.S.D. ครับ </p><p><br /></p><p>หลักการ จะมีหลากหลายตามแต่ละสำนักแต่งจะออกแบบมาครับ แต่ในอีโว ผมยกตัวอย่างของ CUSCO ที่ผมเคยใช้อยู่ครับ</p><p>คือ มันจะเป็นชุดเฟือง Pinion Gear และ Side Gear จับให้เพลาซ้าย-ขวา หมุนพร้อมกัน</p><p>โดยกำหนดเปอร์เซ็นต์การจับ จากชุดสปริง Spring Retainer ให้กดมากหรือน้อยตามแรงบิด(น้ำหนักคันเร่ง)ที่ได้รับ</p><p>เช่นเราเร่งคันเร่งมาก แรงบิดที่ไปกด Spring Retainer มาก ทำให้ Pinion Gear และ Side Gear จับตัวกันมากขึ้น</p><p>เมื่อยกคันเร่งก็จะจากออกจากกันครับ </p><p>ส่วนเวลาเข้าโค้งมันก็จะมีแรงบิดกดลงที่ด้านที่รับภาระมากกว่าให้ตะกรุย </p><p>ส่วนชุดที่รับภาระน้อยกว่ามุมของ Pinion Shaft จะเปิดออกมากกว่า</p><p>จึงส่งเสียงดังก็อกๆๆๆๆ ให้เราได้ยิน และทำให้เลี้ยวได้ยากกว่าครับ เพราะมันพยายามตะกรุยตามอีกฝั่ง ไม่ยอมเลี้ยวตามพวงมาลัยแต่โดยดีนั่นเองครับ</p><p>ส่วนการสงกำลังของ L.S.D. ของ CUSCO จะใช้ผ้าคลัตซ์แบบเปียกหรือCone Clutch ที่อยู่รอบSide Gear </p><p>ทำหน้าที่จับและถ่ายกำลังลงเพลาซ้าย-ขวา ครับ ซึ่งถ้าผ้าคลัตซ์ไหม้หรือหมด L.S.D. ก็จะเกิดการ Slip มากขึ้นจนไม่จับตัว</p><p>และเพลาซ้าย-ขวา ไม่หมุนพร้อมกัน เคสนี้จะไม่พังแต่จะกลายเป็น L.S.D ไม่ทำงานเหมือนรถไม่มีL.S.D. แทนครับ</p><p><br /></p><p>ส่วนมาก ขับสี่ เราจะมี 3 แบบ ครับ ได้แก่ 1WAY / 1.5WAY / 2WAY</p><p>ซึ่ง 1 WAY จะมีหลักการทำงาน คือ จับเฉพาะเวลาเฟืองหมุนเดินหน้าเท่านั้น </p><p> 2 WAY จะมีหลักการทำงาน คือ จับทั้งเวลาเฟืองเดินหน้าและถอยหลัง</p><p> ส่วน 1.5 WAY จะจับเวลาเฟืองเดินหน้ามาก แต่เวลาเฟืองหมุนถอยหลังจะจับน้อยหย่อย ทำให้เลี้ยวง่ายขึ้นกว่าแบบ 2 Way ลงมาครับ</p><p><br /></p><p>**** ซึ่งถ้า รถเรามี L.S.D. แบบ 2WAY ที่มีเปอร์เซ็นต์การจับของผ้าคลัตซ์หนักๆ </p><p>เราจะไม่สามารถขึ้นลูกกลิ้งทดสอบระบบเบรค ในโหมดขับสี่ ได้เลยครับ</p><p>เพราะในโหมดนี้ ลูกกลิ้งจะ หมุนส่วนทางกัน ทำให้ L.S.D. ชุดเฟืองงัดกันเสียหายแน่นอนครับ</p><p>ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับแรงบิดที่ได้รับจากมอเตอร์หมุนลูกลิ้งครับ ถ้าลูกกลิ้งหมุนเร็วมาก ทำให้มีแรงบิดมากจาก PINION SHAFT </p><p>ไปกดชุด Spring มากขึ้น ทำให้เฟืองชุด Pinion Gear และ Side Gear งั้นกันจนแตกหักเสียหายได้ครับ</p><p>โดยไม่เกี่ยวกับ การเข้าเกียร์หรือไม่เข้าเกียร์เลยครับ</p><p>เพราะหลักการของ LS.D. การทำงานจะมาจากแรงที่เพลาด้านนั้นๆส่งผ่าน Pinion Shaft มากดLS.D. ให้ทำงานครับ</p><p>ไม่ต้องเข้าเกียร์ก็สามารถพังได้เลยครับ</p><p>ผมถึงบอกว่า ตรอ.ที่น้องไป ถามไม่มีความรู้เรื่องเครื่องยนต์กลไล</p><p>ฉะนั้นไม่ต้องไปเสียเวลา ต่อล้อต่อเถียงครับ เค้าไม่เข้าใจแน่นอนครับ</p><p><br /></p><p>ในกรณีมี L.S.D. ทั้งหลาย ผมว่าถ้าจะทดสอบให้ทดสอบในโหมด มอเตอร์ลูกกลิ้งหมุนทางเดียวกันเท่านั้นครับ</p><p>จะทำให้เสียหายได้น้อยกว่าครับ ถ้าทดสอบด้วยแรงบิดน้อยๆ ใช้เวลาไม่นานหนัก ชุดเฟืองของ LS.D. คงรับภาระได้ในระดับหนึ่ง</p><p>เพราะคงจับกันไม่เต็มเปอร์เซ็นต์เท่าไรครับ </p><p>แต่ตัวผ้าคลัตซ์L.S.D. มีโอกาส Slip และไหม้ได้ครับ แต่อาจจะไม่ได้เสียหายในทันทีทันใดครับ</p><p>ถ้ารถเริ่มตะกรุย และ มีเสียงเฟืองขบกันดังขึ้น ให้หยุดการทดสอบทันทีครับ เพราะแสดงว่าแรงกดที่LS.D. มีมากเกินไปครับ</p><p><br /></p><p>แต่ถ้ารถเรามี L.S.D. ผมว่า จ้างตรวจและทะเบียนนอกขนส่งดีกว่าครับ </p><p>อย่าไปเสียเวลาถอด LS.D. เข้าๆ-ออกๆ เลยครับ เสียเงินเปล่าๆ เอาเงินไปจ้างต่อแทนดีกว่าครับ[/QUOTE]</p><p><br /></p>
[QUOTE="พัทยา@MRC#012, post: 1175097, member: 9244"]ส่วนหลักการ ของ ระบบส่งกำลัง ที่สงสัย คงต้องอธิบายพร้อมรูปประกอบครับ ผมไม่มีรูปประกอบแต่จะอธิบายคร่าวๆให้ก่อนครับ จะพยายามอธิบายให้เข้าใจง่ายๆก่อนครับ เพราะผมก็ไม่ค่อยมีความรู้เรื่องเกียร์มากเท่าไรนัก เลยไม่สามารถอธิบายละเอียดมากนักได้ 1. Certer Differential ในระบบ AWD Full Time เป็นชุดเกียร์ที่ ทำหน้าที่ทดอัตราส่งกำลังของเกียร์ เพื่อให้เพลาคู่หน้า และเพลากลาง สามารถทำงานในภาระและอัตราทดที่ออกแบบไว้ ซึ่ง ของอีโวลูชั่นส่วนมากจะออกแบบไว้ ที่ 50-50 (อันนี้ผมจำเปอร์เซ็นต์ไม่ได้แน่นักครับ) คร่าวๆคือ เจ้าตัวนี้ เป็นชุดเฟืองที่กระจายและกำหนดกำลังให้ถ่ายกำลังกัน ระหว่างเพลาหน้า-เพลากลางครับ พวกอาการดึงหน้า-ดึงหลัง และอาการโดดเวลาออกตัว ก็มาจากเจ้าชุดเฟืองตัวนี้แหละครับ การจะอุดเป็นขับสองก็ต้องจัดการเจ้าเฟืองตัวนี้ด้วยครับ ถ้าเราปั่น ล้อคู่ใดคู่หนึ่ง ด้วยแรงบิดที่มากในระดับหนึ่ง มันจะทำให้เจ้าชุดเฟืองใน Certer Differential เกิดการขัดและงัดตัวกันเกิดขึ้น ถ้าหมุนเบาๆแบบเอาแม่แรงยก เพื่อเปลี่ยนล้อมันจะไม่มีแรงงัดกันเท่าไร มันยังมีน้ำมันในห้องเกียร์ช่วยหล่อลื่นและลดการเสียดสีได้ สบายๆครับ ฉะนั้นเวลาเรายกรถเปลี่ยนล้อ จึงสามารถหมุนล้อเล่นได้ แต่จะหนักมากเท่านั้นเองครับ แต่ถ้าเราลากรถเป็นระยะทางไกล หรือ ใช้เจ้าลูกกลิ้งปั่นล้อเป็นเวลานานๆ เจ้าเฟืองในชุดCerter Differential นี้แหละครับ จะงัดกันจนไหม้และเฟืองแตกหักเสียหายไปก่อน มันจึงเป็น สาเหตุที่ AWD Full Time ลากไกลๆ ไม่ได้นั่นเองครับ อาการเวลาเสียคือ เวลาน้องเปลี่ยนเกียร์แบบธรรมดา รถจะกระชากดึงหน้า-ดึงหลัง นั่นแหละครับ แสดงว่าเจ้าชุดเฟืองCerter Differential เสียหายไปเรียบร้อยแล้วครับ 2. เกียร์ฝาก หรือ Transfer Gear มีหน้าที่ถ่ายกำลังจากเกียร์ด้านหน้า ผ่านเพลากลางไปยังเฟืองท้ายครับ ซึ่งปกติเกียร์ฝากจะถูกออกแบบแตกต่างกันในรถแต่ละประเภทเช่น พวกรถขับหลังเกียร์ฝากอาจจะอยู่ในห้องเกียร์ใหญ่เลยได้ครับ แต่ของ อีโวเราจะมีเกียร์ฝากแยกออกมาอีก 1 ชุด ซึ่งอีโวบางรุ่นมีเกียร์ฝากที่เปราะบางมากครับ เช่นพวก GT-A ทั้งหลาย แม้กระทั่งอีโว 1-6 ที่มีชุดเกียร์ฝากแข็งแรง หากเราโดดออกตัวแรงๆบ่อยๆ ก็พังได้ครับ ปัญหาคือ เวลาเราใส่ LS.D. หน้าที่มีเปอร์เซ็นต์จับหนัก โดยเฉพาะพวก 2 WAY เวลา มันจะพยายามตะกรุย ให้เกียร์ฝากทำงานพร้อมกันไปด้วยครับ โอกาสเสียหายจึงมี แต่ผมคิดว่า Center Diff และ LS.D. คงพังก่อนครับ ยกเว้นมันงัดกันจนเสื้อเกียร์ฝากแตกแทนครับ อาการเวลา เกียร์ฝากหรือ Transfer Gear เริ่มเสียคือ มันจะไม่มีกำลังไปที่ล้อหลัง หรือมีแต่มีไม่เต็มครับ ทำให้รถวิ่งไม่ออกและมีเสียงเฟืองงัดกันตลอดเวลาใต้คอนโซลเกียร์ครับ ซึ่งเจ้าตัวเกียร์ฝาก นี้เอง เวลาเราเข็นรถ หรือ ลากรถ จะทำให้เพลากลางหมุนตามไปด้วย ซึ่งในกรณีที่ เรานำขึ้นลูกกลิ้งทดสอบ เกียร์ฝากและเพลากลางก็จะพยายามหมุนตามไปด้วย เราจึงเห็นว่าล้อหลังมันก็พยายามตะกรุยครับ ซึ่งในเคส ของ FORTUNER ระบบเกียร์ฝากไม่เหมือนกับอีโวครับ เหมือนเราขึ้นเครื่องทดสอบใน โหมด ขับสี่ ลูกกลิ้งมันจะหมุน สวนทางกัน ทำให้เกียร์ฝากและเพลากลางไม่หมุน แต่ของอีโว หมุนตามแน่นอนครับ แต่ถ้าทดสอบแรงบิดน้อยๆ ช่วงสั้น สามารถรับภาระได้ครับ แต่ถ้ามี L.S.D. ด้วยก็พังครับ ต้องลองทดสอบด้วยโหมด ขับหน้าปกติแทน ครับ 3.. Limited Slip Differential จะเป็นชุดเฟืองที่ทำหน้าที่ จับการทำงานของเพลาซ้าย-ขวา ให้ทำงานพร้อมกัน ตะกรุยพร้อมกัน โดยไม่ฟรีทิ้งครับ ซึ่งรถปกติ สมมุติว่ารถติดหล่ม เพลาล้อฝั่งที่รับภาระมากจะทำหน้าที่ตะกรุยตลอดเวลา ในขณะที่อีกฝั่งจะฟรีทิ้งครับ แต่เมื่อมี L.S.D. เพลาซ้าย-ขวา มันจะหมุนพร้อมกันทั้ง2ข้างครับ จะเห็นชัดเจนในทางตรง เพราะมันจะตะกรุยซ้าย-ขวาพร้อมกัน ทำให้ออกตัวได้ดีกว่า ไม่มี L.S.D. ครับ หลักการ จะมีหลากหลายตามแต่ละสำนักแต่งจะออกแบบมาครับ แต่ในอีโว ผมยกตัวอย่างของ CUSCO ที่ผมเคยใช้อยู่ครับ คือ มันจะเป็นชุดเฟือง Pinion Gear และ Side Gear จับให้เพลาซ้าย-ขวา หมุนพร้อมกัน โดยกำหนดเปอร์เซ็นต์การจับ จากชุดสปริง Spring Retainer ให้กดมากหรือน้อยตามแรงบิด(น้ำหนักคันเร่ง)ที่ได้รับ เช่นเราเร่งคันเร่งมาก แรงบิดที่ไปกด Spring Retainer มาก ทำให้ Pinion Gear และ Side Gear จับตัวกันมากขึ้น เมื่อยกคันเร่งก็จะจากออกจากกันครับ ส่วนเวลาเข้าโค้งมันก็จะมีแรงบิดกดลงที่ด้านที่รับภาระมากกว่าให้ตะกรุย ส่วนชุดที่รับภาระน้อยกว่ามุมของ Pinion Shaft จะเปิดออกมากกว่า จึงส่งเสียงดังก็อกๆๆๆๆ ให้เราได้ยิน และทำให้เลี้ยวได้ยากกว่าครับ เพราะมันพยายามตะกรุยตามอีกฝั่ง ไม่ยอมเลี้ยวตามพวงมาลัยแต่โดยดีนั่นเองครับ ส่วนการสงกำลังของ L.S.D. ของ CUSCO จะใช้ผ้าคลัตซ์แบบเปียกหรือCone Clutch ที่อยู่รอบSide Gear ทำหน้าที่จับและถ่ายกำลังลงเพลาซ้าย-ขวา ครับ ซึ่งถ้าผ้าคลัตซ์ไหม้หรือหมด L.S.D. ก็จะเกิดการ Slip มากขึ้นจนไม่จับตัว และเพลาซ้าย-ขวา ไม่หมุนพร้อมกัน เคสนี้จะไม่พังแต่จะกลายเป็น L.S.D ไม่ทำงานเหมือนรถไม่มีL.S.D. แทนครับ ส่วนมาก ขับสี่ เราจะมี 3 แบบ ครับ ได้แก่ 1WAY / 1.5WAY / 2WAY ซึ่ง 1 WAY จะมีหลักการทำงาน คือ จับเฉพาะเวลาเฟืองหมุนเดินหน้าเท่านั้น 2 WAY จะมีหลักการทำงาน คือ จับทั้งเวลาเฟืองเดินหน้าและถอยหลัง ส่วน 1.5 WAY จะจับเวลาเฟืองเดินหน้ามาก แต่เวลาเฟืองหมุนถอยหลังจะจับน้อยหย่อย ทำให้เลี้ยวง่ายขึ้นกว่าแบบ 2 Way ลงมาครับ **** ซึ่งถ้า รถเรามี L.S.D. แบบ 2WAY ที่มีเปอร์เซ็นต์การจับของผ้าคลัตซ์หนักๆ เราจะไม่สามารถขึ้นลูกกลิ้งทดสอบระบบเบรค ในโหมดขับสี่ ได้เลยครับ เพราะในโหมดนี้ ลูกกลิ้งจะ หมุนส่วนทางกัน ทำให้ L.S.D. ชุดเฟืองงัดกันเสียหายแน่นอนครับ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับแรงบิดที่ได้รับจากมอเตอร์หมุนลูกลิ้งครับ ถ้าลูกกลิ้งหมุนเร็วมาก ทำให้มีแรงบิดมากจาก PINION SHAFT ไปกดชุด Spring มากขึ้น ทำให้เฟืองชุด Pinion Gear และ Side Gear งั้นกันจนแตกหักเสียหายได้ครับ โดยไม่เกี่ยวกับ การเข้าเกียร์หรือไม่เข้าเกียร์เลยครับ เพราะหลักการของ LS.D. การทำงานจะมาจากแรงที่เพลาด้านนั้นๆส่งผ่าน Pinion Shaft มากดLS.D. ให้ทำงานครับ ไม่ต้องเข้าเกียร์ก็สามารถพังได้เลยครับ ผมถึงบอกว่า ตรอ.ที่น้องไป ถามไม่มีความรู้เรื่องเครื่องยนต์กลไล ฉะนั้นไม่ต้องไปเสียเวลา ต่อล้อต่อเถียงครับ เค้าไม่เข้าใจแน่นอนครับ ในกรณีมี L.S.D. ทั้งหลาย ผมว่าถ้าจะทดสอบให้ทดสอบในโหมด มอเตอร์ลูกกลิ้งหมุนทางเดียวกันเท่านั้นครับ จะทำให้เสียหายได้น้อยกว่าครับ ถ้าทดสอบด้วยแรงบิดน้อยๆ ใช้เวลาไม่นานหนัก ชุดเฟืองของ LS.D. คงรับภาระได้ในระดับหนึ่ง เพราะคงจับกันไม่เต็มเปอร์เซ็นต์เท่าไรครับ แต่ตัวผ้าคลัตซ์L.S.D. มีโอกาส Slip และไหม้ได้ครับ แต่อาจจะไม่ได้เสียหายในทันทีทันใดครับ ถ้ารถเริ่มตะกรุย และ มีเสียงเฟืองขบกันดังขึ้น ให้หยุดการทดสอบทันทีครับ เพราะแสดงว่าแรงกดที่LS.D. มีมากเกินไปครับ แต่ถ้ารถเรามี L.S.D. ผมว่า จ้างตรวจและทะเบียนนอกขนส่งดีกว่าครับ อย่าไปเสียเวลาถอด LS.D. เข้าๆ-ออกๆ เลยครับ เสียเงินเปล่าๆ เอาเงินไปจ้างต่อแทนดีกว่าครับ[/QUOTE]
เข้าสู่ระบบด้วย Facebook
เข้าสู่ระบบด้วย Twitter
เข้าสู่ระบบด้วย Google
ชื่อผู้ใช้งานหรือที่อยู่อีเมล์ของคุณ:
คุณมีบัญชีผู้ใช้หรือไม่?
ไม่มี, สร้างบัญชีผู้ใช้ตอนนี้
มี, รหัสผ่านของฉันคือ:
ลืมรหัสผ่านของคุณ?
อยู่ในระบบตลอดเวลา
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
ฟอรั่ม
>
Community Car Clubs
>
Mitsubishi Car Clubs
>
Evolution Thailand
>
สรุป ; ประเด็น การตรวจสภาพ ตรอ. ตามกฎหมายใหม่ บังคับใช้ 17 มิ.ย. 52 กับ รถยนต์ ขับเคลื่อนสี่ล้อ ตลอด
>
X
หน้าแรก
หน้าแรก
Quick Links
โพสต์ล่าสุด
กิจกรรมล่าสุด
ผู้เขียน
ฟอรั่ม
ฟอรั่ม
Quick Links
ค้นหาฟอรั่ม
โพสต์ล่าสุด
ประกาศซื้อขาย
ประกาศซื้อขาย
Quick Links
ค้นหาประกาศซื้อขาย
กิจกรรมล่าสุด
ผู้ค้าขายคะแนนสูงสุด
สื่อ/วิดีโอ
สื่อ/วิดีโอ
Quick Links
Search Media
New Media
สมาชิก
สมาชิก
Quick Links
สมาชิกที่โดดเด่น
สมาชิกที่ลงทะเบียน
ผู้ใช้งานในขณะนี้
กิจกรรมล่าสุด
โพสต์ข้อมูลส่วนตัวใหม่
เมนู
ค้นหาเฉพาะชื่อ
โพสต์โดยสมาชิก:
แยกชื่อด้วยเครื่องหมายจุลภาค
ใหม่กว่า:
ค้นหาเฉพาะหัวข้อนี้
ค้นหาเฉพาะฟอรั่มนี้
แสดงผลเป็นหัวข้อ
การค้นหาที่มีประโยชน์
โพสต์ล่าสุด
เพิ่มเติม...