เข้าสู่ระบบหรือลงทะเบียน
ติดต่อลงโฆษณา
[email protected]
หรือโทร. 081-811-1138 หรืออ่านรายละเอียดเพิ่มเติม คลิกที่นี่
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
ฟอรั่ม
>
General Marketplace
>
สินค้าทั่วไป ไม่มีหมวดหมู่
>
ข้อควรรู้! เกี่ยวกับ พรบรถยนต์ มีความสำคัญอย่างไร คุ้มครองอะไรบ้าง
>
ตอบกลับหัวข้อ
ชื่อ:
การตรวจสอบ:
กรุณาเปิดใช้งานจาวาสคริปต์เพื่อดำเนินการต่อ
กำลังโหลด...
ข้อความ:
<p>[QUOTE="asider8629, post: 7167238"]อุบัติเหตุบนท้องถนนเป็นเหตุการณ์ไม่คาดฝันที่เกิดขึ้นได้ทุกวัน การซื้อ พรบรถยนต์ จึงเปรียบเสมือนเครื่องมือช่วยบรรเทาความเสี่ยงที่คนใช้รถควรให้ความสำคัญ DirectAsia จะมาแนะนำเงื่อนไขความคุ้มครองแบบสรุปเฉพาะใจความสำคัญที่คนใช้รถใช้ถนนควรรู้! </p><p><br /></p><p>พรบรถยนต์คือ ตัวช่วยขั้นพื้นฐานของคนมีรถ</p><p>พรบรถยนต์คือ พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 ที่ให้ความคุ้มครองผู้ประสบอุบัติเหตุที่เกิดจากรถทุกคนและเป็นประกันภัยภาคบังคับที่เจ้าของรถจะต้องดำเนินการต่ออายุทุกปี หากปล่อยให้พ.ร.บ.หมดอายุและเจ้าหน้าที่ตรวจพบมีโทษทางกฎหมาย</p><p><br /></p><p>ต่อพรบใช้อะไรบ้าง</p><p>ในปัจจุบันการต่อ พ.ร.บ. รถยนต์นั้นไม่ยากและวุ่นวายอย่างที่คิด เพราะคุณสามารถต่อพ.ร.บ.ล่วงหน้าได้ตั้งแต่ 1 – 3 เดือนก่อนถึงวันครบกำหนด ซึ่งเจ้าของรถยนต์จะต้องดำเนินการต่อ พ.ร.บ. ให้เรียบร้อยก่อนทุกครั้ง จึงจะมีหลักฐานไปชำระภาษีรถยนต์ประจำปีได้ โดยการชำระภาษีรถยนต์ แบ่งตามอายุจดทะเบียนรถยนต์ได้ 2 แบบ คือ</p><p>1. อายุจดทะเบียนไม่เกิน 7 ปี</p><p>กรณีรถยนต์จดทะเบียนไม่เกิน 7 ปี ไม่จำเป็นต้องนำรถเข้าตรวจสภาพที่สถานตรวจสภาพรถเอกชน (ตรอ.) ก็สามารถเข้าสู่เว็บไซต์ของกรมขนส่งทางบกเพื่อดำเนินการต่อภาษีได้เลย </p><p>2. อายุจดทะเบียน 7 ปีขึ้นไป</p><p>กรณีที่รถยนต์มีอายุจดทะเบียนเกิน 7 ปี จะต้องดำเนินการนำรถเข้าตรวจสภาพที่สถานตรวจสภาพรถยนต์เอกชน (ตรอ.) ให้เรียบร้อยก่อน จึงจะสามารถดำเนินการชำระภาษีรถยนต์ประจำปีได้</p><p><br /></p><p>รู้หรือยัง? พรบรถยนต์ คุ้มครองอะไรบ้าง?</p><p>สำหรับใครที่ไม่เคยปล่อยให้ พ.ร.บ.ขาด แต่ไม่รู้ว่า พรบรถยนต์ คุ้มครองอะไรบ้าง เพราะไม่เคยเกิดอุบัติเหตุให้ต้องเคลม พ.ร.บ. ก็เป็นเรื่องที่ดีมาก แต่การรู้เงื่อนไขความคุ้มครองเอาไว้เบื้องต้นจะช่วยให้คุณทราบถึงสิทธิประโยชน์และความชดเชยในยามเกิดเหตุการณ์ไม่คาดฝัน ดังนี้</p><p>1. ความคุ้มครองส่วนแรก</p><p>คุ้มครองทันทีไม่ว่าคุณจะเป็นฝ่ายผิดหรือไม่ โดยคุณสามารถเบิกค่ารักษาพยาบาลตามจริงได้สูงสุด 30,000 บาทต่อคนและสามารถเบิกค่าชดเชยจากการสูญเสียอวัยวะ, ทุพพลภาพหรือเสียชีวิตสูงสุด 35,000 บาทต่อคน โดยสามารถเบิกทั้ง 2 กรณีรวมกันได้ไม่เกิน 65,000 บาทต่อคน</p><p>2. ความคุ้มครองส่วนหลัง</p><p>ในกรณีสืบหาข้อเท็จจริงและพบว่าคุณเป็นฝ่ายถูก สามารถเบิกพ.ร.บ.ได้ตามเงื่อนไข ได้แก่ ค่ารักษาพยาบาลตามจริงสูงสุด 80,000 บาทต่อคน, ค่าชดเชยเมื่อสูญเสียอวัยวะ ทุพพลภาพหรือเสียชีวิต 500,000 บาทต่อคนและค่าชดเชยรายได้เป็นรายวันเมื่อเข้ารับการรักษาเป็นผู้ป่วยใน วันละ 200 บาทต่อคน คนละไม่เกิน 20 วัน ทั้งนี้ในการเบิกแต่ละครั้งเบิกรวมกันได้ไม่เกิน 504,000 บาทต่อคน </p><p><br /></p><p>กรณี <a href="https://www.directasia.co.th/blog/car-insurance/lost-compulsory-insurance/" target="_blank" class="externalLink ProxyLink" data-proxy-href="https://www.directasia.co.th/blog/car-insurance/lost-compulsory-insurance/" rel="nofollow">พรบ หาย</a> ทำอย่างไรดี</p><p>หากทำพรบ หาย ควรเข้าแจ้งความลงบันทึกประจำวันเพื่อเป็นหลักฐานยืนยัน จากกนั้นจึงค่อยขอ พรบ ใหม่</p><p><br /></p><p>พ.ร.บ.รถยนต์ใกล้หมดไม่ต่อได้ไหม?</p><p>พ.ร.บ.รถยนต์เป็นประกันภัยภาคบังคับที่ภาครัฐกำหนดให้ผู้ครอบครองรถยนต์จะต้องต่ออายุทุกปี หากเจ้าหน้าที่ตรวจพบว่าพ.ร.บ.รถยนต์หมดอายุมีโทษปรับสูงสุด 10,000 บาท ซึ่งคุณจะต้องดำเนินการเสียค่าปรับให้เรียบร้อยก่อนดำเนินการต่อภาษีรถยนต์ประจำปี</p><p><br /></p><p>หลายคนมองข้ามความสำคัญของ พรบรถยนต์ เพราะขับขี่ปลอดภัยและระมัดระวังในการขับขี่ แต่ DirectAsia ขอแนะนำว่าควรต่อพ.ร.บ.ตามกำหนดเสมอเพื่อป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นได้ หากไม่รู้ว่าจะเลือกต่อ พ.ร.บ.รถยนต์ที่ไหนดี เช็กค่าเบี้ย พ.ร.บ.ในราคาคุ้มค่าและพร้อมดูแลคุณในยามฉุกเฉินได้ที่ <a href="https://www.directasia.co.th/compulsory/" target="_blank" class="externalLink ProxyLink" data-proxy-href="https://www.directasia.co.th/compulsory/" rel="nofollow">https://www.directasia.co.th/compulsory/</a></p><p><br /></p><p>ที่มาข้อมูล</p><p><a href="https://www.directasia.co.th/compulsory/" target="_blank" class="externalLink ProxyLink" data-proxy-href="https://www.directasia.co.th/compulsory/" rel="nofollow">https://www.directasia.co.th/compulsory/</a>[/QUOTE]</p><p><br /></p>
[QUOTE="asider8629, post: 7167238"]อุบัติเหตุบนท้องถนนเป็นเหตุการณ์ไม่คาดฝันที่เกิดขึ้นได้ทุกวัน การซื้อ พรบรถยนต์ จึงเปรียบเสมือนเครื่องมือช่วยบรรเทาความเสี่ยงที่คนใช้รถควรให้ความสำคัญ DirectAsia จะมาแนะนำเงื่อนไขความคุ้มครองแบบสรุปเฉพาะใจความสำคัญที่คนใช้รถใช้ถนนควรรู้! พรบรถยนต์คือ ตัวช่วยขั้นพื้นฐานของคนมีรถ พรบรถยนต์คือ พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 ที่ให้ความคุ้มครองผู้ประสบอุบัติเหตุที่เกิดจากรถทุกคนและเป็นประกันภัยภาคบังคับที่เจ้าของรถจะต้องดำเนินการต่ออายุทุกปี หากปล่อยให้พ.ร.บ.หมดอายุและเจ้าหน้าที่ตรวจพบมีโทษทางกฎหมาย ต่อพรบใช้อะไรบ้าง ในปัจจุบันการต่อ พ.ร.บ. รถยนต์นั้นไม่ยากและวุ่นวายอย่างที่คิด เพราะคุณสามารถต่อพ.ร.บ.ล่วงหน้าได้ตั้งแต่ 1 – 3 เดือนก่อนถึงวันครบกำหนด ซึ่งเจ้าของรถยนต์จะต้องดำเนินการต่อ พ.ร.บ. ให้เรียบร้อยก่อนทุกครั้ง จึงจะมีหลักฐานไปชำระภาษีรถยนต์ประจำปีได้ โดยการชำระภาษีรถยนต์ แบ่งตามอายุจดทะเบียนรถยนต์ได้ 2 แบบ คือ 1. อายุจดทะเบียนไม่เกิน 7 ปี กรณีรถยนต์จดทะเบียนไม่เกิน 7 ปี ไม่จำเป็นต้องนำรถเข้าตรวจสภาพที่สถานตรวจสภาพรถเอกชน (ตรอ.) ก็สามารถเข้าสู่เว็บไซต์ของกรมขนส่งทางบกเพื่อดำเนินการต่อภาษีได้เลย 2. อายุจดทะเบียน 7 ปีขึ้นไป กรณีที่รถยนต์มีอายุจดทะเบียนเกิน 7 ปี จะต้องดำเนินการนำรถเข้าตรวจสภาพที่สถานตรวจสภาพรถยนต์เอกชน (ตรอ.) ให้เรียบร้อยก่อน จึงจะสามารถดำเนินการชำระภาษีรถยนต์ประจำปีได้ รู้หรือยัง? พรบรถยนต์ คุ้มครองอะไรบ้าง? สำหรับใครที่ไม่เคยปล่อยให้ พ.ร.บ.ขาด แต่ไม่รู้ว่า พรบรถยนต์ คุ้มครองอะไรบ้าง เพราะไม่เคยเกิดอุบัติเหตุให้ต้องเคลม พ.ร.บ. ก็เป็นเรื่องที่ดีมาก แต่การรู้เงื่อนไขความคุ้มครองเอาไว้เบื้องต้นจะช่วยให้คุณทราบถึงสิทธิประโยชน์และความชดเชยในยามเกิดเหตุการณ์ไม่คาดฝัน ดังนี้ 1. ความคุ้มครองส่วนแรก คุ้มครองทันทีไม่ว่าคุณจะเป็นฝ่ายผิดหรือไม่ โดยคุณสามารถเบิกค่ารักษาพยาบาลตามจริงได้สูงสุด 30,000 บาทต่อคนและสามารถเบิกค่าชดเชยจากการสูญเสียอวัยวะ, ทุพพลภาพหรือเสียชีวิตสูงสุด 35,000 บาทต่อคน โดยสามารถเบิกทั้ง 2 กรณีรวมกันได้ไม่เกิน 65,000 บาทต่อคน 2. ความคุ้มครองส่วนหลัง ในกรณีสืบหาข้อเท็จจริงและพบว่าคุณเป็นฝ่ายถูก สามารถเบิกพ.ร.บ.ได้ตามเงื่อนไข ได้แก่ ค่ารักษาพยาบาลตามจริงสูงสุด 80,000 บาทต่อคน, ค่าชดเชยเมื่อสูญเสียอวัยวะ ทุพพลภาพหรือเสียชีวิต 500,000 บาทต่อคนและค่าชดเชยรายได้เป็นรายวันเมื่อเข้ารับการรักษาเป็นผู้ป่วยใน วันละ 200 บาทต่อคน คนละไม่เกิน 20 วัน ทั้งนี้ในการเบิกแต่ละครั้งเบิกรวมกันได้ไม่เกิน 504,000 บาทต่อคน กรณี [URL='https://www.directasia.co.th/blog/car-insurance/lost-compulsory-insurance/']พรบ หาย[/URL] ทำอย่างไรดี หากทำพรบ หาย ควรเข้าแจ้งความลงบันทึกประจำวันเพื่อเป็นหลักฐานยืนยัน จากกนั้นจึงค่อยขอ พรบ ใหม่ พ.ร.บ.รถยนต์ใกล้หมดไม่ต่อได้ไหม? พ.ร.บ.รถยนต์เป็นประกันภัยภาคบังคับที่ภาครัฐกำหนดให้ผู้ครอบครองรถยนต์จะต้องต่ออายุทุกปี หากเจ้าหน้าที่ตรวจพบว่าพ.ร.บ.รถยนต์หมดอายุมีโทษปรับสูงสุด 10,000 บาท ซึ่งคุณจะต้องดำเนินการเสียค่าปรับให้เรียบร้อยก่อนดำเนินการต่อภาษีรถยนต์ประจำปี หลายคนมองข้ามความสำคัญของ พรบรถยนต์ เพราะขับขี่ปลอดภัยและระมัดระวังในการขับขี่ แต่ DirectAsia ขอแนะนำว่าควรต่อพ.ร.บ.ตามกำหนดเสมอเพื่อป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นได้ หากไม่รู้ว่าจะเลือกต่อ พ.ร.บ.รถยนต์ที่ไหนดี เช็กค่าเบี้ย พ.ร.บ.ในราคาคุ้มค่าและพร้อมดูแลคุณในยามฉุกเฉินได้ที่ [URL]https://www.directasia.co.th/compulsory/[/URL] ที่มาข้อมูล [URL]https://www.directasia.co.th/compulsory/[/URL][/QUOTE]
เข้าสู่ระบบด้วย Facebook
เข้าสู่ระบบด้วย Twitter
เข้าสู่ระบบด้วย Google
ชื่อผู้ใช้งานหรือที่อยู่อีเมล์ของคุณ:
คุณมีบัญชีผู้ใช้หรือไม่?
ไม่มี, สร้างบัญชีผู้ใช้ตอนนี้
มี, รหัสผ่านของฉันคือ:
ลืมรหัสผ่านของคุณ?
อยู่ในระบบตลอดเวลา
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
ฟอรั่ม
>
General Marketplace
>
สินค้าทั่วไป ไม่มีหมวดหมู่
>
ข้อควรรู้! เกี่ยวกับ พรบรถยนต์ มีความสำคัญอย่างไร คุ้มครองอะไรบ้าง
>
X
หน้าแรก
หน้าแรก
Quick Links
โพสต์ล่าสุด
กิจกรรมล่าสุด
ผู้เขียน
ฟอรั่ม
ฟอรั่ม
Quick Links
ค้นหาฟอรั่ม
โพสต์ล่าสุด
ประกาศซื้อขาย
ประกาศซื้อขาย
Quick Links
ค้นหาประกาศซื้อขาย
กิจกรรมล่าสุด
ผู้ค้าขายคะแนนสูงสุด
สื่อ/วิดีโอ
สื่อ/วิดีโอ
Quick Links
Search Media
New Media
สมาชิก
สมาชิก
Quick Links
สมาชิกที่โดดเด่น
สมาชิกที่ลงทะเบียน
ผู้ใช้งานในขณะนี้
กิจกรรมล่าสุด
โพสต์ข้อมูลส่วนตัวใหม่
เมนู
ค้นหาเฉพาะชื่อ
โพสต์โดยสมาชิก:
แยกชื่อด้วยเครื่องหมายจุลภาค
ใหม่กว่า:
ค้นหาเฉพาะหัวข้อนี้
ค้นหาเฉพาะฟอรั่มนี้
แสดงผลเป็นหัวข้อ
การค้นหาที่มีประโยชน์
โพสต์ล่าสุด
เพิ่มเติม...