เข้าสู่ระบบหรือลงทะเบียน
ติดต่อลงโฆษณา
[email protected]
หรือโทร. 081-811-1138 หรืออ่านรายละเอียดเพิ่มเติม คลิกที่นี่
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
ฟอรั่ม
>
Community Car Clubs
>
Honda Car Clubs
>
Civic ES Group
>
กฏหมาย ของรถแต่ง + สาระเล็กๆ
>
ตอบกลับหัวข้อ
ชื่อ:
การตรวจสอบ:
กรุณาเปิดใช้งานจาวาสคริปต์เพื่อดำเนินการต่อ
กำลังโหลด...
ข้อความ:
<p>[QUOTE="beer_ak, post: 487746, member: 52249"]<font size="4">เรื่องความผิดทางด้านจราจร และเรื่องการจับกุม ของตำรวจบาง สน. มาแล้ว สรุปได้ดังนี้</font></p><p><br /></p><p>1. ท่อใหญ่ ที่เสียงดังไม่เกิน 90 เดซิเบลไม่ผิด ถ้าจะจับต้องมีเครื่องวัด จะใช้หูวัดเอาไม่ได้</p><p>2. สปอยเล่อร์ ชุดแต่งไฟเบอร์ ไม่ผิด แต่ต้องแข็งแรงและปลอดภัย</p><p>3. รถโหลดเตี้ยวัดจากไฟหน้าต้องไม่ต่ำกว่า 40 ซม. ( ต่ำกว่าผิด )</p><p>4. รถยกสูงต้องไม่สูงเกินกว่า 175 ซม.</p><p>5. เกจ์ และมาตรวัดต่างๆติดได้ไม่ผิด</p><p><br /></p><p>6. การแข่งขันรถบนถนนหลวง ผิดกฎหมาย ยึดรถ ส่งฟ้องศาลทันที</p><p>7. เปิดไฟโคมเหลืองในขณะที่ไม่มีฝนตก หรือหมอกควัน ...อาจโดนเตือน</p><p>8. ควันขาว และควันดำ...ผิดครับเพราะก่อให้เกิดมลพิษ</p><p>9. การตัดต่อ ทำป้ายทะเบียนยาว ....ผิดกฎหมายฐานปลอมแปลง</p><p><br /></p><p>10. ขับรถขณะมึนเมา...ผิดกฎหมาย จับได้ส่งฟ้องศาล</p><p>ถ้าท่านถูกจับให้จดชื่อ สถานที่จับกุม (สน.) รหัสข้างหมวก เจ้าหน้าที่ ยศ - ชื่อ - นามสกุล เวลา.....ที่จับกุม ท่านนั้นๆ </p><p>แล้วแจ้งไปที่ ศูนย์สั่งการจราจร 1197</p><p><br /></p><p>จึงประกาศให้ทราบทั่วกัน แถมอีกนิดหน่อย</p><p><br /></p><p> การใช้ไฟโคมเหลืองถ้าใช้ให้ถูกกับการะเทศะ.....ไม่ผิดครับ</p><p>เช่นใช้ ในขณะที่ฝนตกหนัก ที่มีหมอกควันหนาทึบ...ใช้ได้ไม่ผิด</p><p>แต่การใช้ขณะค่ำคืนปัจจุบันมันจะเข้าตาคันหน้า จึงเตือนไม่ให้ใช้</p><p>ฉะนั้นการใช้งานให้ถูกการะเทศะจึงจะปลอดภัยทุกประการ </p><p><br /></p><p>การติดแผ่นป้ายไม่ถูกตำแหน่ง เช่นติดที่กันชนด้านซ้าย หรือขวา แต่ควรติดใจตำแหน่งที่ชัดเจน ป้ายไม่มีการดัดแปลง หรือทำให้เล็กลง คุยกันดีๆ พออนุโลมได้ ถ้าตำรวจท่านนั้นไม่..ฟัน...อย่างเดียว</p><p><br /></p><p>รถโหลดเตี้ยวัดจากไฟหน้าต้องไม่ต่ำกว่า 40 ซม.</p><p>1. ถ้าไฟหน้าต่ำกว่า 40 cm. วัดจากพื้นถนนขึ้นมา ไม่ต้องเปิดไฟหน้า ผิด พ.ร.บ.</p><p> ถ้าวัดแล้วไม่ถึง 40 cm. วัดได้ 41 - 175 cm. ไม่ผิด พ.ร.บ. </p><p>2. ล้อ MAX. ขอบเท่าใหร่ ใส่มันขอบ 30 ก็ไม่ผิดกฏหมาย ถ้าไม่ล้นออกมานอกตัวถัง</p><p> ของรถ Standard. ไม่ผิดกฏหมาย..... แต่ถ้าไปดึงโป่งล้อให้ยื่นออกมาจากที่</p><p> จดทะเบียนไว้ ผิดแน่นอนครับ....ดัดแปลงสภาพ เต็มๆ</p><p>3. ท่อใหญ่ แค่ไหนก็ไม่ผิด เพราะไม่มีกฎหมายระบุไว้ มีแต่เสียง ถ้าดังเกิน 90 db. อ๋อ...แน่นอนครับ....ผิดเห็นๆอยู่แล้ว </p><p>4. ชุดแต่ง สปอยเลอร์ สเกิรต์ กันชนไฟเบอร์ เกจ์วัดต่างๆ ภายในตัวรถ ก็ไม่ผิดกฏหมาย ไม่มีระบุเอาไว้</p><p><br /></p><p><font size="6">แอร์</font></p><p>การรั่วซึมของน้ำยา(ท่อน้ำยา 134 ยังกันซึมใด้ไม่ถึง100 เปอร์เซ็นต์) เติมน้ำยาบ่อยฯ โดยไม่ได้เติมน้ำมัน เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้คอมสึกหรอเร็วกว่าปรกติ และคอมล็อคได้ ควรเติมน้ำมัน เมื่อเติมน้ำยาครั้งที่ 2-3 ถ้า 8-12 เดือน น้ำยาขาด ถือว่าปรกติ เติมน้ำยาบ่อยฯ ควรหาจุดรั่วและซ่อมเสียจะดีกว่า เพราะน้ำยา และ น้ำมันคอมขาด ทำให้ระบบแอร์ทำงานไม่เต็มประสิทธิภาพ แอร์ไม่เย็นและจะทำให้คอมเพรสเซอร์สึกหรอเร็วกว่าที่ควรจะเป็น . และที่สำคัญที่สุด ระบบต้องสะอาด..</p><p><br /></p><p>Honda Civic แอร์เย็น แต่คอมดังเมื่อเปิดแอร์ ตอนไม่เปิดดังนิดหน่อย ก่อนเข้าศูนย์ หรือร้านแอร์ขาประจำกรุณาดูที่ มูเล่ย์ว่าแกว่งหรือเปล่า บางทีเสียงไม่ได้มาจากคอมเพรสเซอร์ เสียงมาจากคอคอมสึก ลูกปืนมู่เล่ย์แห้ง./ไหม้...เพราะลุยน้ำมา. .</p><p><br /></p><p><font size="4">การเติมลมด้วยก๊าซไนโตรเจนมีข้อดีอย่างไร</font></p><p>ก๊าซไนโตรเจน (N2) เป็นก๊าซที่มีขนาดโมเลกุลใหญ่กว่าและมีความว่องไวในการเกิดปฏิกิริยาน้อยกว่าก๊าซออกซิเจน (O2) เมื่อใช้เติมเข้าไปในยางรถยนต์แทนอากาศปกติ จะมีข้อดีดังนี้</p><p><br /></p><p>1. การซึมออกของลมยางจะลดลง จึงไม่ต้องเดิมลมยางบ่อยๆ</p><p>2. ช่วยชะลอการเสื่อมสภาพของโครงยางและกระทะล้อ</p><p>3. คงความนุ่มนวลของยางแม้วิ่งระยะทางไกล เนื่องจากการขยายตัวของก๊าซไนโตรเจนมีต่ำอย่างไรก็ตาม</p><p><br /></p><p> ควรตรวจเช็คความดันลมยางเป็นประจำอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง ขณะที่ยางยังเย็นอยู่ เพื่อความปลอดภัยในการใช้งาน </p><p><br /></p><p><font size="4">ส่วนข้อเสียคือ</font></p><p>ราคาค่าเติมที่แพงกว่าการเติมลมปกติมาก ซึ่งรถที่วิ่ง<span style="color: Red">ในสภาพการใช้งานปกติไม่มีความจำเป็นที่จะต้องเติมก๊าซในโตรเจนแต่อย่างใด </span></p><p><br /></p><p><font size="4">กลับมาเติมลมยางด้วยอากาศได้อีกหรือไม่</font></p><p>การเปลี่ยนมาเติมลมยางด้วยอากาศทั่วไปภายหลังจากที่เติมด้วยก๊าซไนโตรเจนแล้ว ไม่มีข้อเสียหายใด ๆ หากแต่เมื่ออากาศปกติถูกเติมเข้าไป จะทำให้คุณสมบัติและประสิทธิภาพของก๊าซไนโตรเจนเจือจางลง การเติมลมยางด้วยก๊าซไนโตรเจนต่อไปจึงสามารถคงคุณสมบัติของก๊าซไนโตรเจนไว้ได้</p><p><br /></p><p><br /></p><p><font size="5">ความแตกต่างในการขัดเคลือบสี และการเคลือบสีเพียงอย่างเดียว </font></p><p> </p><p><font size="4">การขัด</font></p><p><br /></p><p>คือการที่เรานำสิ่งสกปรกฝังแน่นที่อยู่บนหน้าแลคเกอร์ของสีรถออกไป คือทำให้รถมันมีประกายดัวยตัวของแลคเกอร์รถที่แท้จริง เมื่อรถไม่มีคราบแล้ว เราก็ปกป้องความใส สวยของผิวสีรถนั้น ด้วยการเคลือบสี ทับลงไป ซึ่งจะทำให้รถมีความเงางาม ใส ไม่มีคราบสกปรกฝังอยู่แต่อย่างใด รถจะสวย ใสอยู่ตลอดเวลา ผิวสีรถจะลื่น น้ำไม่เกาะและฝุ่นไม่เกาะ รถไม่หมอง นอกจากจะให้ความสวย ใส เงา งามของรถ แล้ว ยังให้การปกป้องผิวสีรถจากสิ่งสกปรกต่าง ๆ แสงแดด ยางมะตอย ริ้วรอย มูลนก ยางไม้ และมลภาวะอื่น ๆ ที่ทำให้สีรถเสียหายได้อีกด้วยครับ</p><p><br /></p><p><font size="4">การเคลือบสีรถ </font></p><p>เป็นการปกป้องสีรถเช่นกัน แต่สีรถอาจจะดูหมอง ๆ เนื่องจากการเคลือบสีอย่างเดียวบ่อย ๆ นั้น ถ้าบนผิวสีรถ มีคราบสกปรกฝังอยู่ ก็จะทำให้ผิวสีรถไม่ใส แล้วถ้าเคลือบทับไปบ่อย ๆ ก็จะทำให้คราบสกปรกเหล่านั้น ฝังตัวแน่นขึ้นด้วย แล้วถ้าแย่ไปกว่านั้น ถ้ามีละอองสีหรือยางมะตอยฝังอยู่ โดยที่เราไม่รู้ ทำให้ไม่ได้ขจัดมันออกไปก่อน แล้วเคลือบทับลงไป จะทำให้สิ่งเหล่านี้ ไปกัดกิน ผิวสีรถได้ ทำให้ผิวสีรถเป็นรู เล็ก ๆ และทำให้รถดูหมองแต่ในขณะเดียวกันก็ไเป็นการป้องกันผิวสีรถเช่นกันครับ</p><p><br /></p><p><font size="5">เปลี่ยนแบตเตอรี่ลูกใหญ่ แอมป์สูงดีไหม</font></p><p> เมื่อแบตเตอรี่หมดสภาพหรือมีการติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าเพิ่มขึ้นแล้วค่อยคิดถึงคำถามนี้ ถ้าแบตเตอรี่ไม่หมดสภาพในขณะที่ยังไม่ได้เพิ่มอุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ การเปลี่ยนแบเตอรี่ ลูกใหญ่-แอมป์สูง ถือเป็นความสิ้นเปลืองโดยใช่เหตุ เพราะผู้ผลิตรถยนต์ได้คำนวณ และเลือกขนาดของแบตเตอรี่ต่ำพอเหมาะอยู่แล้ว</p><p> หากแบตเตอรี่หมดสภาพแล้วต้องเปลี่ยนใหม่ แล้วมีช่องพอสำหรับแบตเตอรี่ใหญ่ และแบตเตอรี่ลูกเดิมมีแอมป์ไม่สูงนักก็ควรเปลี่ยนลูกใหญ่-แอมป์สูงขึ้น (เสมือนมีถังน้ำสำรองใหญ่ขึ้น) เพราะ 4 เหตุผล คือ </p><p>1. ราคาแพงขึ้นไม่กี่ร้อยบาท </p><p>2. มีกำลังไฟฟ้าสำรองมากขึ้น </p><p>3. มีกำลังไฟฟ้าแรงขึ้น </p><p>4. ไม่ได้ทำให้ไดชาร์จทำงานหนักขึ้นหรือพังเร็ว </p><p><font size="5">สรุปคือ มีแต่บวกไม่มีลบเลย นอกจากเสียเงินเพิ่มไม่กี่ร้อยบาท</font></p><p><br /></p><p> เครื่องยนต์ยุคใหม่ที่ใช้ระบบหัวฉีดอิเล็กทรอนิกส์ เมื่อปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิง และอุปกรณ์อื่นได้กระแสไฟฟ้าที่มีแอมป์สูงย่อมทำงานได้ดีขึ้น</p><p> หากต้องจอดนิ่งเครื่องยนต์เดินเบาบนการจราจรติดขัดนาน ๆ ไดชาร์จได้น้อย ก็มีพลังไฟฟ้าสำรองมากขึ้น รถยนต์ทุกรุ่นอย่าเลือกเปลี่ยนแบตเตอรี่ที่มีแอมป์ต่ำลงจาก มาตรฐาน และถ้ามีโอกาสควรเลือกแบตเตอรี่ลูกใหม่ที่มีแอมป์สูงขึ้นประมาณ 10-30 แอมป์ โดยดูจากตัวเลขที่ระบุบนตัวแบตเตอรี่</p><p> การประจุไฟฟ้าสู่แบตเตอรี่ในครั้งแรกสุดหรือครั้งใด ๆ ไม่ใช่เป็นการประจุจากไดชาร์จ ควรใช้วิธีชาร์จช้า ประมาณ 5-10 ชั่วโมงขึ้นไป เพื่อให้แบตเตอรี่ไม่เสื่อมสภาพง่าย แต่ทางร้านมักใช้วิธีชาร์จเร็วเพื่อรีบบริการลูกค้า และจะทำให้แบตเตอรี่ลูกนั้น มีอายุไม่มาก ต้องเวียนมาเปลี่ยนใหม่เร็วขึ้นเล็กน้อย</p><p>อายุการใช้งานแบตเตอรี่ 1.5-3 ปี แบตเตอรี่ทั่วไปมีอายุการใช้งานประมาณ 1.5-3 ปี เท่านั้น โดยดูได้จากตัวเลขที่ตอกลง บนตัวแบตเตอรี่ ซึ่งส่วนใหญ่ร้านค้าจะมีการตอกเอง โดยปกติ เมื่อเกิน 1.5-2 ปี ก็ถือว่า คุ้มค่าแล้วสำหรับแบตเตอรี่ทั่วไปที่ผลิตในประเทศและจำหน่ายในราคาลูกละ 1,000 กว่าบาท เมื่อเกินอายุ 2-2.5 ปี ถ้ากังวลให้ถือโอกาสเปลี่ยนก่อนก็ไม่สิ้นเปลืองมากนัก แบตเตอรี่-แอมป์สูง มักมีขนาดใหญ่ขึ้น จึงควรคำนึงถึงขนาดของฐานที่จะวางลงไป เมื่อแบตเตอรี่ลูกใหญ่-แอมป์สูงขึ้น ไม่จำเป็นต้องยุ่งยากถึงกับดัดแปลงฐานที่จะวาง หากไม่ต้องการแบตเตอรี่ลูกใหญ่-แอมป์สูงมากจริง ๆ เลือกขนาดเท่าที่พอจะวางได้ก็พอ </p><p> มี 2 ชนิดหลัก คือ แบตเตอรี่แบบเปียก และแบบแห้ง แบบเปียก (ใช้กันส่วนใหญ่) แบ่งเป็น 2 แบบย่อย คือ ต้องเติมและดูแลน้ำกลั่นบ่อย (อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง) และแบบดูแลไม่บ่อย (MAINTAINANCE FREE) กินน้ำกลั่นน้อยมาก โดยทั้ง 2 แบบจะมีฝาปิดเปิดสำหรับเติมน้ำกลั่น มีอายุการใช้งาน ประมาณ 1.5-3 ปี แบบแห้ง ทนทาน ราคาแพง ไม่ต้องเติมน้ำกลั่น มีอายุการใช้งานมากกว่าแบบเปียก ประมาณ 3-6 เท่าหรือประมาณ 5-10 ปี</p><p><br /></p><p><font size="4">ขี้เกลือขั้วแบตเตอรี่</font></p><p> อาจมีการขึ้นขี้เกลือ ซึ่งช้ามาก และทำให้การส่งกระแสไฟฟ้าด้อยลง การทำความสะอาดที่ดี ต้องถอดขั้วออกและทำความสะอาดทั้งขั้วบนแบตเตอรี่และขั้วบนสายไฟฟ้า พร้อมเคลือบด้วยจาระบีหรือน้ำมันเครื่อง</p><p>ถ้าไม่มีความรู้เชิงกลไก ใช้น้ำอุ่นราดผ่านก็เพียงพอในระดับหนึ่ง</p><p><br /></p><p><font size="4">ตรวจน้ำกลั่นทุกสัปดาห์</font> </p><p> ควรตรวจระดับน้ำกลั่นในแบตเตอรี่ทุกสัปดาห์ ควรเติมให้ได้ระดับ โดยถ้าแบตเตอรี่ มีผิวด้านข้างใส ก็ส่องดูได้ แต่ถ้าผิวทึบหรือเล็งด้านข้างไม่สะดวก เติมน้ำกลั่นให้ท่วม แถบแผ่นธาตุไว้ประมาณ 1 เซนติเมตร อย่าใช้น้ำกรองหรือใช้น้ำที่ไม่ใช่น้ำกลั่นเติม แบตเตอรี่เพราะจะทำให้แบตเตอรี่มีอายุการใช้งานสั้นลง</p><p> แบตเตอรี่รถยนต์ ไม่แพง เสียยาก ดูแลง่าย แต่อย่ามองข้าม เพราะเป็นพลังไฟฟ้าสำรอง ในรถยนต์ทุกคัน</p><p><br /></p><p><font size="5">คาถาโค้งอันตราย</font> </p><p><br /></p><p> "เข้าให้ช้า ออกให้เร็ว" เป็นคาถาบทหนึ่งที่ผู้ขับขี่ควรยึดปฏิบัติเพื่อให้การขับขี่ยวดยานของท่านเป็นไปอย่างถูกต้องมีประสิทธิภาพและปลอดภัย โดยเฉพาะเวลาเข้าโค้ง </p><p> อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นแก่นักขับรถอีกประการหนึ่งคือ การขับรถเข้าทางโค้ง ถนนหนทางแทบทุกเส้นทางทั่วโลก ไม่เว้นแม้แต่ในบ้านเราจะต้องมีทางโค้งเสมอ แต่จะมากหรือน้อยนั้นเป็นเรื่องหนึ่งและทางโค้งเหล่านี้เอง ที่เปรียบเสมือนกับดักบรรดานักซิ่งที่ไม่มีกฎเกณฑ์ หรือไม่มีวิธีการขับรถเข้าโค้งที่ถูกต้อง จึงมีบ่อยครั้งที่พวกนี้มักเอาชีวิตไปทิ้งเสียในทางโค้งเหล่านั้น </p><p> บางครั้งนอกจากชีวิตตนเอง ยังพ่วงชีวิตผู้โดยสารและผู้ใช้ถนนที่ไม่รู้อิโหน่อิเหน่ ให้ต้องพลอยฟ้าพลอยฝนไปด้วย ทั้งนี้ไม่นับทรัพย์สินที่เสียหายไปในแต่ละครั้งอีกมากมาย เพราะราคารถยนต์ในปัจจุบันก็แพงแสนแพงอยู่แล้ว </p><p> ถ้าอย่างนั้น นักขับรถควรจะปฏิบัติอย่างไร ? คำตอบก็คือ นักขับรถจำเป็นต้องใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อยึดปฏิบัติในการขับรถเข้าทางโค้ง และหากทำได้ถูกต้องแล้ว นักขับรถทุกท่านก็จะสามารถขับเข้าทางโค้งทุกแห่งในโลกเลยทีเดียว คือ "เข้าให้ช้าและออกให้เร็ว" ซึ่งต้องท่องให้ขึ้นใจแล้วปฏิบัติดังนี้ </p><p><br /></p><p>เข้าให้ช้า คือเมื่อผู้ขับรถมองเห็นทางโค้งข้างหน้า ต้องประเมินทันทีว่าโค้งที่เห็นนั้น จะเข้าได้ด้วยความเร็วเท่าใด หากมีป้ายบังคับของกรมทางหลวงติดไว้ก่อนถึงทางโค้ง ก็ให้ปฏิบัติตามป้ายบังคับนั้น เช่น มีป้ายเตือนให้ใช้ความเร็วเข้าโค้งข้างหน้าด้วยความเร็ว 40 กม./ชม. ถ้าท่านขับรถบรรทุกไม่ว่าจะเป็นหกล้อ สิบล้อ หรือใหญ่กว่านั้นก็ให้ปฏิบัติตามป้าย </p><p> แต่ถ้าหากว่ารถท่านเป็นรถปิกอัพหรือรถเก๋ง ท่านอาจจะเพิ่มความเร็วได้อีก 50% หมายความว่าถ้าหากมีป้ายเตือนให้เข้าโค้งที่มีความเร็วไม่เกิน 40 กม./ชม. ดังตัวอย่างก็ให้ท่านปฎิบัติดังนี้ </p><p> สมมติว่าท่านขับมาด้วยความเร็ว 90 กม./ชม. ให้แตะเบรกลดความเร็วให้เหลือ 60 กม./ชม. นั่นคือเพิ่มเข้าไปอีก 50% ของป้ายบังคับ แล้วเปลี่ยนเกียร์ต่ำลงมารับที่ความเร็ว 60 กม./ชม. ซึ่งในที่นี้เกียร์ที่เหมาะสมที่สุดคือเกียร์สาม ทั้งนี้ต้องทำให้เสร็จสิ้นเสียก่อนเข้าโค้ง </p><p> เมื่อเปลี่ยนเกียร์และวัดความเร็วได้ถูกต้องตามทฤษฎีแล้ว ให้ยกเท้าซ้ายออกจากแป้นคลัตช์ และใช้แค่เท้าขวาเหยียบแป้นคันเร่งเท่านั้น ล็อกความเร็วให้คงอยู่ที่ 60 กม./ชม. และหมุนพวงมาลัยรถให้เข้าตามโค้งไปอย่างราบเรียบ อย่าให้รถเหวี่ยงไปมาเป็นอันขาด เพราะอาจทำให้รถลื่นไถลออกจากโค้งได้ </p><p> ข้อควรปฎิบัติปลีกย่อยอื่นๆ ที่จำเป็นในการขับรถทางโค้ง ก็มีอาทิ อย่าเร่งความเร็วเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในโค้ง เพราะเมื่อถึงปลายโค้ง ความเร็วจะเกินพิกัดที่กะเอาไว้รถอาจหลุดโค้งได้ อย่าเปลี่ยนเกียร์ขณะอยู่ในโค้ง อย่าเหยียบคลัตช์ อย่าถอนคันเร่งและเหยียบเบรกแรง เพราะล้วนแต่เป็นสาเหตุที่ทำให้รถหลุดโค้งทั้งสิ้น </p><p> ออกให้เร็ว คือ เมื่อรถเข้าโค้งจนแล่นสู่ทางตรงเรียบร้อยแล้ว ให้เร่งความเร็วขึ้นโดยทันทีแล้วเปลี่ยนเกียร์สูงขึ้น รถก็จะพุ่งออกจากโค้งด้วยความเร็วและมั่นคง </p><p> หากนักขับรถทุกท่านขับรถเข้าโค้งได้ดังนี้ ไม่ว่าจะเข้าโค้งซักร้อยโค้งหรือพันโค้ง ก็ย่อมผ่านเข้าและจะออกจากโค้งทุกโค้งด้วยความปลอดภัยแน่นอน พึงระลึกไว้เสมอว่าหากท่านเข้าโค้งด้วยความเร็วแล้ว ส่วนมากจะไม่ค่อยได้ออกจากโค้ง ซึ่งอย่างหลังนี้คงไม่เป็นที่ปรารถนาของนักขับรถสักเท่าไหร่ </p><p> หากต้องขับรถผ่านเข้าทางโค้งในคราวหน้า อย่าลืมลองปฏิบัติ ตามข้อเตือนใจ "เข้าให้ช้า ออกให้เร็ว"</p><p><br /></p><p>ปล. ถ้าซ้ำก้อขอ อภัยนะคับ[/QUOTE]</p><p><br /></p>
[QUOTE="beer_ak, post: 487746, member: 52249"][SIZE="4"]เรื่องความผิดทางด้านจราจร และเรื่องการจับกุม ของตำรวจบาง สน. มาแล้ว สรุปได้ดังนี้[/SIZE] 1. ท่อใหญ่ ที่เสียงดังไม่เกิน 90 เดซิเบลไม่ผิด ถ้าจะจับต้องมีเครื่องวัด จะใช้หูวัดเอาไม่ได้ 2. สปอยเล่อร์ ชุดแต่งไฟเบอร์ ไม่ผิด แต่ต้องแข็งแรงและปลอดภัย 3. รถโหลดเตี้ยวัดจากไฟหน้าต้องไม่ต่ำกว่า 40 ซม. ( ต่ำกว่าผิด ) 4. รถยกสูงต้องไม่สูงเกินกว่า 175 ซม. 5. เกจ์ และมาตรวัดต่างๆติดได้ไม่ผิด 6. การแข่งขันรถบนถนนหลวง ผิดกฎหมาย ยึดรถ ส่งฟ้องศาลทันที 7. เปิดไฟโคมเหลืองในขณะที่ไม่มีฝนตก หรือหมอกควัน ...อาจโดนเตือน 8. ควันขาว และควันดำ...ผิดครับเพราะก่อให้เกิดมลพิษ 9. การตัดต่อ ทำป้ายทะเบียนยาว ....ผิดกฎหมายฐานปลอมแปลง 10. ขับรถขณะมึนเมา...ผิดกฎหมาย จับได้ส่งฟ้องศาล ถ้าท่านถูกจับให้จดชื่อ สถานที่จับกุม (สน.) รหัสข้างหมวก เจ้าหน้าที่ ยศ - ชื่อ - นามสกุล เวลา.....ที่จับกุม ท่านนั้นๆ แล้วแจ้งไปที่ ศูนย์สั่งการจราจร 1197 จึงประกาศให้ทราบทั่วกัน แถมอีกนิดหน่อย การใช้ไฟโคมเหลืองถ้าใช้ให้ถูกกับการะเทศะ.....ไม่ผิดครับ เช่นใช้ ในขณะที่ฝนตกหนัก ที่มีหมอกควันหนาทึบ...ใช้ได้ไม่ผิด แต่การใช้ขณะค่ำคืนปัจจุบันมันจะเข้าตาคันหน้า จึงเตือนไม่ให้ใช้ ฉะนั้นการใช้งานให้ถูกการะเทศะจึงจะปลอดภัยทุกประการ การติดแผ่นป้ายไม่ถูกตำแหน่ง เช่นติดที่กันชนด้านซ้าย หรือขวา แต่ควรติดใจตำแหน่งที่ชัดเจน ป้ายไม่มีการดัดแปลง หรือทำให้เล็กลง คุยกันดีๆ พออนุโลมได้ ถ้าตำรวจท่านนั้นไม่..ฟัน...อย่างเดียว รถโหลดเตี้ยวัดจากไฟหน้าต้องไม่ต่ำกว่า 40 ซม. 1. ถ้าไฟหน้าต่ำกว่า 40 cm. วัดจากพื้นถนนขึ้นมา ไม่ต้องเปิดไฟหน้า ผิด พ.ร.บ. ถ้าวัดแล้วไม่ถึง 40 cm. วัดได้ 41 - 175 cm. ไม่ผิด พ.ร.บ. 2. ล้อ MAX. ขอบเท่าใหร่ ใส่มันขอบ 30 ก็ไม่ผิดกฏหมาย ถ้าไม่ล้นออกมานอกตัวถัง ของรถ Standard. ไม่ผิดกฏหมาย..... แต่ถ้าไปดึงโป่งล้อให้ยื่นออกมาจากที่ จดทะเบียนไว้ ผิดแน่นอนครับ....ดัดแปลงสภาพ เต็มๆ 3. ท่อใหญ่ แค่ไหนก็ไม่ผิด เพราะไม่มีกฎหมายระบุไว้ มีแต่เสียง ถ้าดังเกิน 90 db. อ๋อ...แน่นอนครับ....ผิดเห็นๆอยู่แล้ว 4. ชุดแต่ง สปอยเลอร์ สเกิรต์ กันชนไฟเบอร์ เกจ์วัดต่างๆ ภายในตัวรถ ก็ไม่ผิดกฏหมาย ไม่มีระบุเอาไว้ [SIZE="6"]แอร์[/SIZE] การรั่วซึมของน้ำยา(ท่อน้ำยา 134 ยังกันซึมใด้ไม่ถึง100 เปอร์เซ็นต์) เติมน้ำยาบ่อยฯ โดยไม่ได้เติมน้ำมัน เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้คอมสึกหรอเร็วกว่าปรกติ และคอมล็อคได้ ควรเติมน้ำมัน เมื่อเติมน้ำยาครั้งที่ 2-3 ถ้า 8-12 เดือน น้ำยาขาด ถือว่าปรกติ เติมน้ำยาบ่อยฯ ควรหาจุดรั่วและซ่อมเสียจะดีกว่า เพราะน้ำยา และ น้ำมันคอมขาด ทำให้ระบบแอร์ทำงานไม่เต็มประสิทธิภาพ แอร์ไม่เย็นและจะทำให้คอมเพรสเซอร์สึกหรอเร็วกว่าที่ควรจะเป็น . และที่สำคัญที่สุด ระบบต้องสะอาด.. Honda Civic แอร์เย็น แต่คอมดังเมื่อเปิดแอร์ ตอนไม่เปิดดังนิดหน่อย ก่อนเข้าศูนย์ หรือร้านแอร์ขาประจำกรุณาดูที่ มูเล่ย์ว่าแกว่งหรือเปล่า บางทีเสียงไม่ได้มาจากคอมเพรสเซอร์ เสียงมาจากคอคอมสึก ลูกปืนมู่เล่ย์แห้ง./ไหม้...เพราะลุยน้ำมา. . [SIZE="4"]การเติมลมด้วยก๊าซไนโตรเจนมีข้อดีอย่างไร[/SIZE] ก๊าซไนโตรเจน (N2) เป็นก๊าซที่มีขนาดโมเลกุลใหญ่กว่าและมีความว่องไวในการเกิดปฏิกิริยาน้อยกว่าก๊าซออกซิเจน (O2) เมื่อใช้เติมเข้าไปในยางรถยนต์แทนอากาศปกติ จะมีข้อดีดังนี้ 1. การซึมออกของลมยางจะลดลง จึงไม่ต้องเดิมลมยางบ่อยๆ 2. ช่วยชะลอการเสื่อมสภาพของโครงยางและกระทะล้อ 3. คงความนุ่มนวลของยางแม้วิ่งระยะทางไกล เนื่องจากการขยายตัวของก๊าซไนโตรเจนมีต่ำอย่างไรก็ตาม ควรตรวจเช็คความดันลมยางเป็นประจำอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง ขณะที่ยางยังเย็นอยู่ เพื่อความปลอดภัยในการใช้งาน [SIZE="4"]ส่วนข้อเสียคือ[/SIZE] ราคาค่าเติมที่แพงกว่าการเติมลมปกติมาก ซึ่งรถที่วิ่ง[COLOR="Red"]ในสภาพการใช้งานปกติไม่มีความจำเป็นที่จะต้องเติมก๊าซในโตรเจนแต่อย่างใด [/COLOR] [SIZE="4"]กลับมาเติมลมยางด้วยอากาศได้อีกหรือไม่[/SIZE] การเปลี่ยนมาเติมลมยางด้วยอากาศทั่วไปภายหลังจากที่เติมด้วยก๊าซไนโตรเจนแล้ว ไม่มีข้อเสียหายใด ๆ หากแต่เมื่ออากาศปกติถูกเติมเข้าไป จะทำให้คุณสมบัติและประสิทธิภาพของก๊าซไนโตรเจนเจือจางลง การเติมลมยางด้วยก๊าซไนโตรเจนต่อไปจึงสามารถคงคุณสมบัติของก๊าซไนโตรเจนไว้ได้ [SIZE="5"]ความแตกต่างในการขัดเคลือบสี และการเคลือบสีเพียงอย่างเดียว [/SIZE] [SIZE="4"]การขัด[/SIZE] คือการที่เรานำสิ่งสกปรกฝังแน่นที่อยู่บนหน้าแลคเกอร์ของสีรถออกไป คือทำให้รถมันมีประกายดัวยตัวของแลคเกอร์รถที่แท้จริง เมื่อรถไม่มีคราบแล้ว เราก็ปกป้องความใส สวยของผิวสีรถนั้น ด้วยการเคลือบสี ทับลงไป ซึ่งจะทำให้รถมีความเงางาม ใส ไม่มีคราบสกปรกฝังอยู่แต่อย่างใด รถจะสวย ใสอยู่ตลอดเวลา ผิวสีรถจะลื่น น้ำไม่เกาะและฝุ่นไม่เกาะ รถไม่หมอง นอกจากจะให้ความสวย ใส เงา งามของรถ แล้ว ยังให้การปกป้องผิวสีรถจากสิ่งสกปรกต่าง ๆ แสงแดด ยางมะตอย ริ้วรอย มูลนก ยางไม้ และมลภาวะอื่น ๆ ที่ทำให้สีรถเสียหายได้อีกด้วยครับ [SIZE="4"]การเคลือบสีรถ [/SIZE] เป็นการปกป้องสีรถเช่นกัน แต่สีรถอาจจะดูหมอง ๆ เนื่องจากการเคลือบสีอย่างเดียวบ่อย ๆ นั้น ถ้าบนผิวสีรถ มีคราบสกปรกฝังอยู่ ก็จะทำให้ผิวสีรถไม่ใส แล้วถ้าเคลือบทับไปบ่อย ๆ ก็จะทำให้คราบสกปรกเหล่านั้น ฝังตัวแน่นขึ้นด้วย แล้วถ้าแย่ไปกว่านั้น ถ้ามีละอองสีหรือยางมะตอยฝังอยู่ โดยที่เราไม่รู้ ทำให้ไม่ได้ขจัดมันออกไปก่อน แล้วเคลือบทับลงไป จะทำให้สิ่งเหล่านี้ ไปกัดกิน ผิวสีรถได้ ทำให้ผิวสีรถเป็นรู เล็ก ๆ และทำให้รถดูหมองแต่ในขณะเดียวกันก็ไเป็นการป้องกันผิวสีรถเช่นกันครับ [SIZE="5"]เปลี่ยนแบตเตอรี่ลูกใหญ่ แอมป์สูงดีไหม[/SIZE] เมื่อแบตเตอรี่หมดสภาพหรือมีการติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าเพิ่มขึ้นแล้วค่อยคิดถึงคำถามนี้ ถ้าแบตเตอรี่ไม่หมดสภาพในขณะที่ยังไม่ได้เพิ่มอุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ การเปลี่ยนแบเตอรี่ ลูกใหญ่-แอมป์สูง ถือเป็นความสิ้นเปลืองโดยใช่เหตุ เพราะผู้ผลิตรถยนต์ได้คำนวณ และเลือกขนาดของแบตเตอรี่ต่ำพอเหมาะอยู่แล้ว หากแบตเตอรี่หมดสภาพแล้วต้องเปลี่ยนใหม่ แล้วมีช่องพอสำหรับแบตเตอรี่ใหญ่ และแบตเตอรี่ลูกเดิมมีแอมป์ไม่สูงนักก็ควรเปลี่ยนลูกใหญ่-แอมป์สูงขึ้น (เสมือนมีถังน้ำสำรองใหญ่ขึ้น) เพราะ 4 เหตุผล คือ 1. ราคาแพงขึ้นไม่กี่ร้อยบาท 2. มีกำลังไฟฟ้าสำรองมากขึ้น 3. มีกำลังไฟฟ้าแรงขึ้น 4. ไม่ได้ทำให้ไดชาร์จทำงานหนักขึ้นหรือพังเร็ว [SIZE="5"]สรุปคือ มีแต่บวกไม่มีลบเลย นอกจากเสียเงินเพิ่มไม่กี่ร้อยบาท[/SIZE] เครื่องยนต์ยุคใหม่ที่ใช้ระบบหัวฉีดอิเล็กทรอนิกส์ เมื่อปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิง และอุปกรณ์อื่นได้กระแสไฟฟ้าที่มีแอมป์สูงย่อมทำงานได้ดีขึ้น หากต้องจอดนิ่งเครื่องยนต์เดินเบาบนการจราจรติดขัดนาน ๆ ไดชาร์จได้น้อย ก็มีพลังไฟฟ้าสำรองมากขึ้น รถยนต์ทุกรุ่นอย่าเลือกเปลี่ยนแบตเตอรี่ที่มีแอมป์ต่ำลงจาก มาตรฐาน และถ้ามีโอกาสควรเลือกแบตเตอรี่ลูกใหม่ที่มีแอมป์สูงขึ้นประมาณ 10-30 แอมป์ โดยดูจากตัวเลขที่ระบุบนตัวแบตเตอรี่ การประจุไฟฟ้าสู่แบตเตอรี่ในครั้งแรกสุดหรือครั้งใด ๆ ไม่ใช่เป็นการประจุจากไดชาร์จ ควรใช้วิธีชาร์จช้า ประมาณ 5-10 ชั่วโมงขึ้นไป เพื่อให้แบตเตอรี่ไม่เสื่อมสภาพง่าย แต่ทางร้านมักใช้วิธีชาร์จเร็วเพื่อรีบบริการลูกค้า และจะทำให้แบตเตอรี่ลูกนั้น มีอายุไม่มาก ต้องเวียนมาเปลี่ยนใหม่เร็วขึ้นเล็กน้อย อายุการใช้งานแบตเตอรี่ 1.5-3 ปี แบตเตอรี่ทั่วไปมีอายุการใช้งานประมาณ 1.5-3 ปี เท่านั้น โดยดูได้จากตัวเลขที่ตอกลง บนตัวแบตเตอรี่ ซึ่งส่วนใหญ่ร้านค้าจะมีการตอกเอง โดยปกติ เมื่อเกิน 1.5-2 ปี ก็ถือว่า คุ้มค่าแล้วสำหรับแบตเตอรี่ทั่วไปที่ผลิตในประเทศและจำหน่ายในราคาลูกละ 1,000 กว่าบาท เมื่อเกินอายุ 2-2.5 ปี ถ้ากังวลให้ถือโอกาสเปลี่ยนก่อนก็ไม่สิ้นเปลืองมากนัก แบตเตอรี่-แอมป์สูง มักมีขนาดใหญ่ขึ้น จึงควรคำนึงถึงขนาดของฐานที่จะวางลงไป เมื่อแบตเตอรี่ลูกใหญ่-แอมป์สูงขึ้น ไม่จำเป็นต้องยุ่งยากถึงกับดัดแปลงฐานที่จะวาง หากไม่ต้องการแบตเตอรี่ลูกใหญ่-แอมป์สูงมากจริง ๆ เลือกขนาดเท่าที่พอจะวางได้ก็พอ มี 2 ชนิดหลัก คือ แบตเตอรี่แบบเปียก และแบบแห้ง แบบเปียก (ใช้กันส่วนใหญ่) แบ่งเป็น 2 แบบย่อย คือ ต้องเติมและดูแลน้ำกลั่นบ่อย (อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง) และแบบดูแลไม่บ่อย (MAINTAINANCE FREE) กินน้ำกลั่นน้อยมาก โดยทั้ง 2 แบบจะมีฝาปิดเปิดสำหรับเติมน้ำกลั่น มีอายุการใช้งาน ประมาณ 1.5-3 ปี แบบแห้ง ทนทาน ราคาแพง ไม่ต้องเติมน้ำกลั่น มีอายุการใช้งานมากกว่าแบบเปียก ประมาณ 3-6 เท่าหรือประมาณ 5-10 ปี [SIZE="4"]ขี้เกลือขั้วแบตเตอรี่[/SIZE] อาจมีการขึ้นขี้เกลือ ซึ่งช้ามาก และทำให้การส่งกระแสไฟฟ้าด้อยลง การทำความสะอาดที่ดี ต้องถอดขั้วออกและทำความสะอาดทั้งขั้วบนแบตเตอรี่และขั้วบนสายไฟฟ้า พร้อมเคลือบด้วยจาระบีหรือน้ำมันเครื่อง ถ้าไม่มีความรู้เชิงกลไก ใช้น้ำอุ่นราดผ่านก็เพียงพอในระดับหนึ่ง [SIZE="4"]ตรวจน้ำกลั่นทุกสัปดาห์[/SIZE] ควรตรวจระดับน้ำกลั่นในแบตเตอรี่ทุกสัปดาห์ ควรเติมให้ได้ระดับ โดยถ้าแบตเตอรี่ มีผิวด้านข้างใส ก็ส่องดูได้ แต่ถ้าผิวทึบหรือเล็งด้านข้างไม่สะดวก เติมน้ำกลั่นให้ท่วม แถบแผ่นธาตุไว้ประมาณ 1 เซนติเมตร อย่าใช้น้ำกรองหรือใช้น้ำที่ไม่ใช่น้ำกลั่นเติม แบตเตอรี่เพราะจะทำให้แบตเตอรี่มีอายุการใช้งานสั้นลง แบตเตอรี่รถยนต์ ไม่แพง เสียยาก ดูแลง่าย แต่อย่ามองข้าม เพราะเป็นพลังไฟฟ้าสำรอง ในรถยนต์ทุกคัน [SIZE="5"]คาถาโค้งอันตราย[/SIZE] "เข้าให้ช้า ออกให้เร็ว" เป็นคาถาบทหนึ่งที่ผู้ขับขี่ควรยึดปฏิบัติเพื่อให้การขับขี่ยวดยานของท่านเป็นไปอย่างถูกต้องมีประสิทธิภาพและปลอดภัย โดยเฉพาะเวลาเข้าโค้ง อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นแก่นักขับรถอีกประการหนึ่งคือ การขับรถเข้าทางโค้ง ถนนหนทางแทบทุกเส้นทางทั่วโลก ไม่เว้นแม้แต่ในบ้านเราจะต้องมีทางโค้งเสมอ แต่จะมากหรือน้อยนั้นเป็นเรื่องหนึ่งและทางโค้งเหล่านี้เอง ที่เปรียบเสมือนกับดักบรรดานักซิ่งที่ไม่มีกฎเกณฑ์ หรือไม่มีวิธีการขับรถเข้าโค้งที่ถูกต้อง จึงมีบ่อยครั้งที่พวกนี้มักเอาชีวิตไปทิ้งเสียในทางโค้งเหล่านั้น บางครั้งนอกจากชีวิตตนเอง ยังพ่วงชีวิตผู้โดยสารและผู้ใช้ถนนที่ไม่รู้อิโหน่อิเหน่ ให้ต้องพลอยฟ้าพลอยฝนไปด้วย ทั้งนี้ไม่นับทรัพย์สินที่เสียหายไปในแต่ละครั้งอีกมากมาย เพราะราคารถยนต์ในปัจจุบันก็แพงแสนแพงอยู่แล้ว ถ้าอย่างนั้น นักขับรถควรจะปฏิบัติอย่างไร ? คำตอบก็คือ นักขับรถจำเป็นต้องใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อยึดปฏิบัติในการขับรถเข้าทางโค้ง และหากทำได้ถูกต้องแล้ว นักขับรถทุกท่านก็จะสามารถขับเข้าทางโค้งทุกแห่งในโลกเลยทีเดียว คือ "เข้าให้ช้าและออกให้เร็ว" ซึ่งต้องท่องให้ขึ้นใจแล้วปฏิบัติดังนี้ เข้าให้ช้า คือเมื่อผู้ขับรถมองเห็นทางโค้งข้างหน้า ต้องประเมินทันทีว่าโค้งที่เห็นนั้น จะเข้าได้ด้วยความเร็วเท่าใด หากมีป้ายบังคับของกรมทางหลวงติดไว้ก่อนถึงทางโค้ง ก็ให้ปฏิบัติตามป้ายบังคับนั้น เช่น มีป้ายเตือนให้ใช้ความเร็วเข้าโค้งข้างหน้าด้วยความเร็ว 40 กม./ชม. ถ้าท่านขับรถบรรทุกไม่ว่าจะเป็นหกล้อ สิบล้อ หรือใหญ่กว่านั้นก็ให้ปฏิบัติตามป้าย แต่ถ้าหากว่ารถท่านเป็นรถปิกอัพหรือรถเก๋ง ท่านอาจจะเพิ่มความเร็วได้อีก 50% หมายความว่าถ้าหากมีป้ายเตือนให้เข้าโค้งที่มีความเร็วไม่เกิน 40 กม./ชม. ดังตัวอย่างก็ให้ท่านปฎิบัติดังนี้ สมมติว่าท่านขับมาด้วยความเร็ว 90 กม./ชม. ให้แตะเบรกลดความเร็วให้เหลือ 60 กม./ชม. นั่นคือเพิ่มเข้าไปอีก 50% ของป้ายบังคับ แล้วเปลี่ยนเกียร์ต่ำลงมารับที่ความเร็ว 60 กม./ชม. ซึ่งในที่นี้เกียร์ที่เหมาะสมที่สุดคือเกียร์สาม ทั้งนี้ต้องทำให้เสร็จสิ้นเสียก่อนเข้าโค้ง เมื่อเปลี่ยนเกียร์และวัดความเร็วได้ถูกต้องตามทฤษฎีแล้ว ให้ยกเท้าซ้ายออกจากแป้นคลัตช์ และใช้แค่เท้าขวาเหยียบแป้นคันเร่งเท่านั้น ล็อกความเร็วให้คงอยู่ที่ 60 กม./ชม. และหมุนพวงมาลัยรถให้เข้าตามโค้งไปอย่างราบเรียบ อย่าให้รถเหวี่ยงไปมาเป็นอันขาด เพราะอาจทำให้รถลื่นไถลออกจากโค้งได้ ข้อควรปฎิบัติปลีกย่อยอื่นๆ ที่จำเป็นในการขับรถทางโค้ง ก็มีอาทิ อย่าเร่งความเร็วเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในโค้ง เพราะเมื่อถึงปลายโค้ง ความเร็วจะเกินพิกัดที่กะเอาไว้รถอาจหลุดโค้งได้ อย่าเปลี่ยนเกียร์ขณะอยู่ในโค้ง อย่าเหยียบคลัตช์ อย่าถอนคันเร่งและเหยียบเบรกแรง เพราะล้วนแต่เป็นสาเหตุที่ทำให้รถหลุดโค้งทั้งสิ้น ออกให้เร็ว คือ เมื่อรถเข้าโค้งจนแล่นสู่ทางตรงเรียบร้อยแล้ว ให้เร่งความเร็วขึ้นโดยทันทีแล้วเปลี่ยนเกียร์สูงขึ้น รถก็จะพุ่งออกจากโค้งด้วยความเร็วและมั่นคง หากนักขับรถทุกท่านขับรถเข้าโค้งได้ดังนี้ ไม่ว่าจะเข้าโค้งซักร้อยโค้งหรือพันโค้ง ก็ย่อมผ่านเข้าและจะออกจากโค้งทุกโค้งด้วยความปลอดภัยแน่นอน พึงระลึกไว้เสมอว่าหากท่านเข้าโค้งด้วยความเร็วแล้ว ส่วนมากจะไม่ค่อยได้ออกจากโค้ง ซึ่งอย่างหลังนี้คงไม่เป็นที่ปรารถนาของนักขับรถสักเท่าไหร่ หากต้องขับรถผ่านเข้าทางโค้งในคราวหน้า อย่าลืมลองปฏิบัติ ตามข้อเตือนใจ "เข้าให้ช้า ออกให้เร็ว" ปล. ถ้าซ้ำก้อขอ อภัยนะคับ[/QUOTE]
เข้าสู่ระบบด้วย Facebook
เข้าสู่ระบบด้วย Twitter
เข้าสู่ระบบด้วย Google
ชื่อผู้ใช้งานหรือที่อยู่อีเมล์ของคุณ:
คุณมีบัญชีผู้ใช้หรือไม่?
ไม่มี, สร้างบัญชีผู้ใช้ตอนนี้
มี, รหัสผ่านของฉันคือ:
ลืมรหัสผ่านของคุณ?
อยู่ในระบบตลอดเวลา
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
ฟอรั่ม
>
Community Car Clubs
>
Honda Car Clubs
>
Civic ES Group
>
กฏหมาย ของรถแต่ง + สาระเล็กๆ
>
X
หน้าแรก
หน้าแรก
Quick Links
โพสต์ล่าสุด
กิจกรรมล่าสุด
ผู้เขียน
ฟอรั่ม
ฟอรั่ม
Quick Links
ค้นหาฟอรั่ม
โพสต์ล่าสุด
ประกาศซื้อขาย
ประกาศซื้อขาย
Quick Links
ค้นหาประกาศซื้อขาย
กิจกรรมล่าสุด
ผู้ค้าขายคะแนนสูงสุด
สื่อ/วิดีโอ
สื่อ/วิดีโอ
Quick Links
Search Media
New Media
สมาชิก
สมาชิก
Quick Links
สมาชิกที่โดดเด่น
สมาชิกที่ลงทะเบียน
ผู้ใช้งานในขณะนี้
กิจกรรมล่าสุด
โพสต์ข้อมูลส่วนตัวใหม่
เมนู
ค้นหาเฉพาะชื่อ
โพสต์โดยสมาชิก:
แยกชื่อด้วยเครื่องหมายจุลภาค
ใหม่กว่า:
ค้นหาเฉพาะหัวข้อนี้
ค้นหาเฉพาะฟอรั่มนี้
แสดงผลเป็นหัวข้อ
การค้นหาที่มีประโยชน์
โพสต์ล่าสุด
เพิ่มเติม...