เข้าสู่ระบบหรือลงทะเบียน
ติดต่อลงโฆษณา
[email protected]
หรือโทร. 081-811-1138 หรืออ่านรายละเอียดเพิ่มเติม คลิกที่นี่
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
ฟอรั่ม
>
Community Team and group
>
Team and Group
>
DNA Racing Club
>
เรื่องน่ารู้สำหรับคลับเรานะครับ
>
ตอบกลับหัวข้อ
ชื่อ:
การตรวจสอบ:
กรุณาเปิดใช้งานจาวาสคริปต์เพื่อดำเนินการต่อ
กำลังโหลด...
ข้อความ:
<p>[QUOTE="TK RACING, post: 120183, member: 1693"]<font face="Arial"><font size="4"><span style="color: Gray">การทำคาร์ไฟเบอร์</span></font></font></p><p><font face="Arial"><font size="4"><span style="color: Gray"><br /></span></font></font></p><p><font face="Arial"><font size="4"><span style="color: Gray">ซื้ออุปกรณ์ครับมีดังนี้</span></font></font></p><p><font face="Arial"><font size="4"><span style="color: Gray">- ผ้าคาร์บอนไฟเบอร์ ประมาณเมตรละ 1,600 แต่ขึ้นกับหน้ากว้างด้วยนะครับ</span></font></font></p><p><font face="Arial"><font size="4"><span style="color: Gray">- เรซิ่น (โพลีเอสเตอร์เรซิ่นนะครับ เพราะราคาไม่แพง บอกร้านเค้าว่าเอาไปทำพวกบอดี้รถ) ประมาณกิโลฯ ละ 100 นิด ๆ บาท</span></font></font></p><p><font face="Arial"><font size="4"><span style="color: Gray">แต่ถ้าจะทำบริเวณที่ต้องโดนความร้อนเยอะ ๆ เช่นฝากระโปรง ฝาครอบเครื่อง ปลอกท่อไอเสีย ฯ ควรใช้ Epoxy Resin แทน แต่ราคาแพงกว่าเยอะ แต่คุ้มครับ เพราะผมใช้โพลีเอสเตอร์เรซิ่นกันฝาครอบเครื่อง ใช้ไปไม่นานมันก็กรอบและเหลืองเลย (ให้นึกถึงพลาสติกที่โดนความร้อนมาก ๆ)</span></font></font></p><p><font face="Arial"><font size="4"><span style="color: Gray">- Cobalt (ตัวเร่งปฏิกิริยา) ประมาณ 30 กว่าบาท</span></font></font></p><p><font face="Arial"><font size="4"><span style="color: Gray">- Hardener (ตัวทำแข็ง) ประมาณ 30 กว่าบาท</span></font></font></p><p><font face="Arial"><font size="4"><span style="color: Gray">- แปรงทาสี ขนาดแปรงขึ้นกับขนาดของวัสดุที่จะทำครับ เลือกให้เหมาะ ๆ ถ้าเป็นมือใหม่ ควรเลือกของดี ๆ และหลาย ๆ อัน เพราะกันเจ๊งครับ เพราะถ้าคุณยังผสมสัดส่วนไม่คล่อง มันจะแข็งเร็วมาก และถ้าล้างอุปกรณ์ไม่ทัน ก็....โบกมือบ๊ายบายครับ ที่ให้เลือกของแพงหน่อยเพราะขนแปรงจะไม่ร่วงมาก จะได้ไม่ต้องมาพะวง</span></font></font></p><p><font face="Arial"><font size="4"><span style="color: Gray">- ไม้ไอติม เอาไว้คนสารต่าง ๆ</span></font></font></p><p><font face="Arial"><font size="4"><span style="color: Gray">- กระป๋อง เอาไว้ใส่สาร</span></font></font></p><p><font face="Arial"><font size="4"><span style="color: Gray">- Acetone ตัวทำละลาย เอาไว้ล้างอุปกรณ์ ประมาณกิโลฯ ละ 30 กว่าบาท</span></font></font></p><p><font face="Arial"><font size="4"><span style="color: Gray">- กระป๋องใส่ Acetone</span></font></font></p><p><font face="Arial"><font size="4"><span style="color: Gray">- น้ำยา PVA เป็นน้ำยาลอกแบบ ประมาณ....จำไม่ได้ แต่ไม่แพงครับ หรือถ้าต้องการงานเนียน ๆ ก็ใช้ Wax สำหรับลอกแบบได้ครบ ถามที่ร้านมีขายแน่นอน</span></font></font></p><p><font face="Arial"><font size="4"><span style="color: Gray">- กระดาษทรายน้ำเบอร์ 1000, 600, 360, 240, 100</span></font></font></p><p><font face="Arial"><font size="4"><span style="color: Gray"><br /></span></font></font></p><p><font face="Arial"><font size="4"><span style="color: Gray">ร้านที่ซื้ออุปกรณ์เป็นประจำชื่อ "เรซิ่นอาร์ต" อยู่เยื้อง ๆ ม.ศรีปทุม ถ้ามาจากเกษตรจะถึงก่อนนิดนึง</span></font></font></p><p><font face="Arial"><font size="4"><span style="color: Gray"><br /></span></font></font></p><p><font face="Arial"><font size="4"><span style="color: Gray">อุปกรณ์เหมือนจะเยอะ แต่ขวดละเล็ก ๆ เอง แล้วซื้อมาทีก็ใช้ได้นาน ส่วนที่ใช้ไม่ได้นานก็คือเรซิ่น และผ้าคาร์บอนฯ</span></font></font></p><p><font face="Arial"><font size="4"><span style="color: Gray"><br /></span></font></font></p><p><font face="Arial"><font size="4"><span style="color: Gray">คราวนี้มาเริ่มทำกันเล้ยยยยย..... สมมติว่าเราจะหุ้มผ้าคาร์บอนฯ ที่ฝากระโปรง (จริง ๆ ฝากระโปรงควรทำใหม่นะครับ ไม่ควรหุ้มทับของเดิม เพราะได้แค่สวย แต่ไม่มีประโยชน์ เพราะประโยชน์ที่แท้จริงของคาร์บอนไฟเบอร์ คือความแข็งและทนความร้อนสูง ส่วนคาร์บอนเคฟล่าร์จะแข็ง เหนียว ยืดหยุ่นกว่าคาร์บอนไฟเบอร์ และทนความร้อน และมีสีสันให้เลือกมากกว่า มันถึงแพงกว่าคาร์บอนไฟเบอร์ล่ะ)</span></font></font></p><p><font face="Arial"><font size="4"><span style="color: Gray"><br /></span></font></font></p><p><font face="Arial"><font size="4"><span style="color: Gray">1. ผสมเรซิ่นครับ โดยผสมเรซิ่น + ตัวเร่งปฏิกิริยา + ตัวทำแข็ง สำหรับสัดส่วนเวลาซื้อให้ถามคนขายให้ละเอียดนะครับ หรือขอสูตรตารางเค้ามาด้วยก็ได้ ยกตัวอย่างเช่น ใช้เรซิ่น 40 กรัม + ตัวเร่งปฏิกิริยา 2 หยด + ตัวทำแข็งประมาณ 10 หยด (จำนวนหยดขึ้นกับอุณหภูมิ เช่น ทำกลางวัน ทำกลางคืน ฯ แต่ไม่ต้องถึงกับเอาปรอทวัดก็ได้)</span></font></font></p><p><font face="Arial"><font size="4"><span style="color: Gray"><br /></span></font></font></p><p><font face="Arial"><font size="4"><span style="color: Gray">2. เมื่อผสมเสร็จแล้วก็รีบทาครับ รีบทาสุด ๆ อย่าใจเย็นครับ ส่วนต้องรีบแค่ไหนขึ้นกับสัดส่วนที่ผสมครับ ถ้ารู้สึกว่าน้ำยาข้นไปให้ซื้อน้ำยาชื่อ โมโนสไตรีน มาผสมครับ จะช่วยให้เหลวขึ้นลดความข้นได้ ขั้นตอนนี้ต้องพยายามทาให้เรียบเสมอกันทั้งฝากระโปรง ถ้ามีเครื่องพ่นก็ใชเครื่องพ่น</span></font></font></p><p><font face="Arial"><font size="4"><span style="color: Gray"><br /></span></font></font></p><p><font face="Arial"><font size="4"><span style="color: Gray">3. ถ้าคิดว่ามันไม่ค่อยเรียบให้หาลูกกลิ้ง คล้ายกับที่ใช้ทาสีบ้านน่ะครับ ทาให้เรียบแล้วทิ้งไว้สักพัก ส่วนจะนานแค่ไหนขึ้นกับสัดส่วนที่คุณผสมอะ ลองทิ้งไว้สัก 20 นาที แล้วเอานิ้วแตะเบา ๆ ถ้ายังเหลวอยู่ก็รอไปอีกนิด แล้วเอานิ้วแตะเบา ๆ อีก ถ้าหายเหลวแล้ว แต่ยังไม่แห้งสนิท คือมันจะเป็นรอยนิ้วมือที่คุณแตะไป และนิ้วคุณก็ไม่เลอะเทอะนัก ช่วงนี้เราเรียกว่า "Finger print"</span></font></font></p><p><font face="Arial"><font size="4"><span style="color: Gray"><br /></span></font></font></p><p><font face="Arial"><font size="4"><span style="color: Gray">4. ให้รีบเอาผ้าคาร์บอนไฟเบอร์ค่อย ๆ บรรจงหุ้มทับ วิธีตัดผ้าให้ใช้สก็อตช์เทป หรือเทปกาวแปะตามแนวยาวที่ต้องการตัด แล้วใช้กรรไกรคม ๆ ตัดทับรอยเทป เพื่อป้องกันผ้าย่น การหุ้มผ้าให้ค่อย ๆ ปูทีละนิด แล้วอย่าเพิ่งกดจนแน่น เดี๋ยวเบี้ยวแล้วจะดึงไม่ออก เมื่อวางผ้าดีแล้วให้จัดลายผ้าให้สวยงาม ค่อย ๆ ทำ จากนั้นให้ใช้ลูกกลิ้งยาง (ซื้อที่ร้านอีกนั่นแหละ) กดทับเพื่อไล่อากาศ ให้กดจากตรงกลางไล่ไปตามขอบ ๆ เรื่อย ๆ ขั้นตอนนี้สำคัญมาก เพราะถ้ามีอากาศอยู่มันจะไม่แข็งแรง ติดไม่แน่น และไม่เรียบ</span></font></font></p><p><font face="Arial"><font size="4"><span style="color: Gray"><br /></span></font></font></p><p><font face="Arial"><font size="4"><span style="color: Gray">การหุ้มผ้า ควรให้มีชายผ้าเลยจากขอบวัสดุออกมาประมาณ 2 นิ้ว เมื่อ ทาเรซิ่นทับผ้าครั้งแรก รอให้อยู่ในระยะ "Finger print" จากนั้นใช้คัตเตอร์ หรือกรรไกรตัดออก ไม่ต้องใจร้อนพยายามให้เนียน ถ้าไม่เนียน เอาไว้ตอนเสร็จแล้วค่อยให้กระดาษทรายหรือเครื่องขัด ขัดก็ได้</span></font></font></p><p><font face="Arial"><font size="4"><span style="color: Gray"><br /></span></font></font></p><p><font face="Arial"><font size="4"><span style="color: Gray">อ้อ....... เวลาทำงาน อย่าทำในบ้าน ให้ทำในที่โล่ง อากาศโปร่ง แต่ไม่ใช่เจอแสงแดดแผดเผา และมีลมพัดมาเป่าข้าวของกระจาย และควรสวมถุงมือยาง (20 บาท ได้เกือบ 6 คู่) และมีผ้าปิดปาก สำหรับผ้าปิดปากควรชุบน้ำนิดนึง ให้หมาด ๆ เพื่อป้องกันฝุ่นละอองที่อาจเล็ดลอด เพราะ น้ำยาเรซิ่นมีฤทธิ์เป็นกรด หากโดนเข้าให้ใช้สบู่ล้าง หรือถ้าหนัก ๆ ก็ใช้ผงซักฟอกก็ได้ แต่อย่าบ่อย เพราะมันจะกัด</span></font></font></p><p><font face="Arial"><font size="4"><span style="color: Gray"><br /></span></font></font></p><p><font face="Arial"><font size="4"><span style="color: Gray">5. ปูผ้าเรียบร้อยก็ผสมเรซิ่นอีก ถ้าเริ่มใหม่ ๆ ให้ผสมในสัดส่วนที่จะทำให้มันแข็งตัวช้า จากนั้นก็ทาเรซิ่นทับ ขั้นตอนนี้ก็อีกเช่นกันคือพยายามทาให้เรียบที่สุดเท่าที่จะทำได้ ถ้าไม่เรียบก็ช่างมันเดี๋ยวหากระดาษทรายขัดได้ หรือใช้แปรงลูกกลิ้งทาก็ได้ ทาไปสัก 3 ชั้น แต่ละชั้นให้ทิ้งเวลาจนมันแห้งสนิทแล้วค่อยทาใหม่</span></font></font></p><p><font face="Arial"><font size="4"><span style="color: Gray"><br /></span></font></font></p><p><font face="Arial"><font size="4"><span style="color: Gray">6. ถ้ามันไม่เรียบ ไม่ต้องต้องใจ แต่ถ้าถึงขั้นหยาบกระด้าง ก็ควรตกใจได้ ทิ้งไว้จนแห้งสนิทสัก 1 คืน จากนั้นให้ใช้กระดาษทรายน้ำไล่ขัดตั้งแต่เบอร์ 100 -> 240 -> 360 -> 600 -> 1000 ถ้ากลัวมือหงิกก็หาเครื่องขัดกระดาษทรายมาใช้ ปกติผมก็ใช้เครื่องขัด (ยืมพี่มา) ขัดหยาบ ๆ ก่อน จากนั้นค่อยใช้กระดาษทรายเบอร์ละเอียดขัดต่อ</span></font></font></p><p><font face="Arial"><font size="4"><span style="color: Gray"><br /></span></font></font></p><p><font face="Arial"><font size="4"><span style="color: Gray">7. ลืมขั้นตอนสุดท้ายไปได้ ขัดเสร็จแล้วก็พ่นด้วยแล็กเกอร์เงาครับ แนะนำยี่ห้อ Leyland ครับ เงาสะใจดี กระป๋องละ 45 บาท แต่ต้องพ่นเก่ง ๆ นะครับ ผมเองพ่นไม่เก่งได้ซ่อมงานประจำ หรือไม่อยากได้เนียน ๆ ก็พอทำเสร็จก็ไปให้อู่สีพ่นแล็กเกอร์ให้ก็ได้ จะได้เรียบ ๆ เนียน ๆ</span></font></font></p><p><font face="Arial"><font size="4"><span style="color: Gray"><br /></span></font></font></p><p><font face="Arial"><font size="4"><span style="color: Gray">แค่นี้เองครับ เสร็จละ สำหรับผมเป็นคนใจร้อน งานมักออกมาชุ่ย ๆ แต่ได้เครื่องขัดเลยช่วยได้เยอะ แต่เครื่องนึงก็ร่วม ๆ สองพัน ลองทำงานเล็ก ๆ ดูก่อนก็ได้ แล้วใช้กระดาษทราย</span></font></font></p><p><font face="Arial"><font size="4"><span style="color: Gray"><br /></span></font></font></p><p><font face="Arial"><font size="4"><span style="color: Gray">Tips: ถ้าเรซิ่นเริ่มาเซ็ตตัว คือ เริ่มหนืด ๆ แล้ว อย่าทาทับเด็ดขาด ปล่อยให้มันแข็งแล้วค่อยใช้กระดาษทรายขัดแต่ง แล้วค่อยทาเรซิ่นทับต่อ และให้รีบแช่แปรงใน Acetone ทันที ไม่งั้นมันจะแข็ง และล้างไม่ออก</span></font></font></p><p><font face="Arial"><font size="4"><span style="color: Gray"></span></font></font>[/QUOTE]</p><p><br /></p>
[QUOTE="TK RACING, post: 120183, member: 1693"][FONT="Arial"][SIZE="4"][COLOR="Gray"]การทำคาร์ไฟเบอร์ ซื้ออุปกรณ์ครับมีดังนี้ - ผ้าคาร์บอนไฟเบอร์ ประมาณเมตรละ 1,600 แต่ขึ้นกับหน้ากว้างด้วยนะครับ - เรซิ่น (โพลีเอสเตอร์เรซิ่นนะครับ เพราะราคาไม่แพง บอกร้านเค้าว่าเอาไปทำพวกบอดี้รถ) ประมาณกิโลฯ ละ 100 นิด ๆ บาท แต่ถ้าจะทำบริเวณที่ต้องโดนความร้อนเยอะ ๆ เช่นฝากระโปรง ฝาครอบเครื่อง ปลอกท่อไอเสีย ฯ ควรใช้ Epoxy Resin แทน แต่ราคาแพงกว่าเยอะ แต่คุ้มครับ เพราะผมใช้โพลีเอสเตอร์เรซิ่นกันฝาครอบเครื่อง ใช้ไปไม่นานมันก็กรอบและเหลืองเลย (ให้นึกถึงพลาสติกที่โดนความร้อนมาก ๆ) - Cobalt (ตัวเร่งปฏิกิริยา) ประมาณ 30 กว่าบาท - Hardener (ตัวทำแข็ง) ประมาณ 30 กว่าบาท - แปรงทาสี ขนาดแปรงขึ้นกับขนาดของวัสดุที่จะทำครับ เลือกให้เหมาะ ๆ ถ้าเป็นมือใหม่ ควรเลือกของดี ๆ และหลาย ๆ อัน เพราะกันเจ๊งครับ เพราะถ้าคุณยังผสมสัดส่วนไม่คล่อง มันจะแข็งเร็วมาก และถ้าล้างอุปกรณ์ไม่ทัน ก็....โบกมือบ๊ายบายครับ ที่ให้เลือกของแพงหน่อยเพราะขนแปรงจะไม่ร่วงมาก จะได้ไม่ต้องมาพะวง - ไม้ไอติม เอาไว้คนสารต่าง ๆ - กระป๋อง เอาไว้ใส่สาร - Acetone ตัวทำละลาย เอาไว้ล้างอุปกรณ์ ประมาณกิโลฯ ละ 30 กว่าบาท - กระป๋องใส่ Acetone - น้ำยา PVA เป็นน้ำยาลอกแบบ ประมาณ....จำไม่ได้ แต่ไม่แพงครับ หรือถ้าต้องการงานเนียน ๆ ก็ใช้ Wax สำหรับลอกแบบได้ครบ ถามที่ร้านมีขายแน่นอน - กระดาษทรายน้ำเบอร์ 1000, 600, 360, 240, 100 ร้านที่ซื้ออุปกรณ์เป็นประจำชื่อ "เรซิ่นอาร์ต" อยู่เยื้อง ๆ ม.ศรีปทุม ถ้ามาจากเกษตรจะถึงก่อนนิดนึง อุปกรณ์เหมือนจะเยอะ แต่ขวดละเล็ก ๆ เอง แล้วซื้อมาทีก็ใช้ได้นาน ส่วนที่ใช้ไม่ได้นานก็คือเรซิ่น และผ้าคาร์บอนฯ คราวนี้มาเริ่มทำกันเล้ยยยยย..... สมมติว่าเราจะหุ้มผ้าคาร์บอนฯ ที่ฝากระโปรง (จริง ๆ ฝากระโปรงควรทำใหม่นะครับ ไม่ควรหุ้มทับของเดิม เพราะได้แค่สวย แต่ไม่มีประโยชน์ เพราะประโยชน์ที่แท้จริงของคาร์บอนไฟเบอร์ คือความแข็งและทนความร้อนสูง ส่วนคาร์บอนเคฟล่าร์จะแข็ง เหนียว ยืดหยุ่นกว่าคาร์บอนไฟเบอร์ และทนความร้อน และมีสีสันให้เลือกมากกว่า มันถึงแพงกว่าคาร์บอนไฟเบอร์ล่ะ) 1. ผสมเรซิ่นครับ โดยผสมเรซิ่น + ตัวเร่งปฏิกิริยา + ตัวทำแข็ง สำหรับสัดส่วนเวลาซื้อให้ถามคนขายให้ละเอียดนะครับ หรือขอสูตรตารางเค้ามาด้วยก็ได้ ยกตัวอย่างเช่น ใช้เรซิ่น 40 กรัม + ตัวเร่งปฏิกิริยา 2 หยด + ตัวทำแข็งประมาณ 10 หยด (จำนวนหยดขึ้นกับอุณหภูมิ เช่น ทำกลางวัน ทำกลางคืน ฯ แต่ไม่ต้องถึงกับเอาปรอทวัดก็ได้) 2. เมื่อผสมเสร็จแล้วก็รีบทาครับ รีบทาสุด ๆ อย่าใจเย็นครับ ส่วนต้องรีบแค่ไหนขึ้นกับสัดส่วนที่ผสมครับ ถ้ารู้สึกว่าน้ำยาข้นไปให้ซื้อน้ำยาชื่อ โมโนสไตรีน มาผสมครับ จะช่วยให้เหลวขึ้นลดความข้นได้ ขั้นตอนนี้ต้องพยายามทาให้เรียบเสมอกันทั้งฝากระโปรง ถ้ามีเครื่องพ่นก็ใชเครื่องพ่น 3. ถ้าคิดว่ามันไม่ค่อยเรียบให้หาลูกกลิ้ง คล้ายกับที่ใช้ทาสีบ้านน่ะครับ ทาให้เรียบแล้วทิ้งไว้สักพัก ส่วนจะนานแค่ไหนขึ้นกับสัดส่วนที่คุณผสมอะ ลองทิ้งไว้สัก 20 นาที แล้วเอานิ้วแตะเบา ๆ ถ้ายังเหลวอยู่ก็รอไปอีกนิด แล้วเอานิ้วแตะเบา ๆ อีก ถ้าหายเหลวแล้ว แต่ยังไม่แห้งสนิท คือมันจะเป็นรอยนิ้วมือที่คุณแตะไป และนิ้วคุณก็ไม่เลอะเทอะนัก ช่วงนี้เราเรียกว่า "Finger print" 4. ให้รีบเอาผ้าคาร์บอนไฟเบอร์ค่อย ๆ บรรจงหุ้มทับ วิธีตัดผ้าให้ใช้สก็อตช์เทป หรือเทปกาวแปะตามแนวยาวที่ต้องการตัด แล้วใช้กรรไกรคม ๆ ตัดทับรอยเทป เพื่อป้องกันผ้าย่น การหุ้มผ้าให้ค่อย ๆ ปูทีละนิด แล้วอย่าเพิ่งกดจนแน่น เดี๋ยวเบี้ยวแล้วจะดึงไม่ออก เมื่อวางผ้าดีแล้วให้จัดลายผ้าให้สวยงาม ค่อย ๆ ทำ จากนั้นให้ใช้ลูกกลิ้งยาง (ซื้อที่ร้านอีกนั่นแหละ) กดทับเพื่อไล่อากาศ ให้กดจากตรงกลางไล่ไปตามขอบ ๆ เรื่อย ๆ ขั้นตอนนี้สำคัญมาก เพราะถ้ามีอากาศอยู่มันจะไม่แข็งแรง ติดไม่แน่น และไม่เรียบ การหุ้มผ้า ควรให้มีชายผ้าเลยจากขอบวัสดุออกมาประมาณ 2 นิ้ว เมื่อ ทาเรซิ่นทับผ้าครั้งแรก รอให้อยู่ในระยะ "Finger print" จากนั้นใช้คัตเตอร์ หรือกรรไกรตัดออก ไม่ต้องใจร้อนพยายามให้เนียน ถ้าไม่เนียน เอาไว้ตอนเสร็จแล้วค่อยให้กระดาษทรายหรือเครื่องขัด ขัดก็ได้ อ้อ....... เวลาทำงาน อย่าทำในบ้าน ให้ทำในที่โล่ง อากาศโปร่ง แต่ไม่ใช่เจอแสงแดดแผดเผา และมีลมพัดมาเป่าข้าวของกระจาย และควรสวมถุงมือยาง (20 บาท ได้เกือบ 6 คู่) และมีผ้าปิดปาก สำหรับผ้าปิดปากควรชุบน้ำนิดนึง ให้หมาด ๆ เพื่อป้องกันฝุ่นละอองที่อาจเล็ดลอด เพราะ น้ำยาเรซิ่นมีฤทธิ์เป็นกรด หากโดนเข้าให้ใช้สบู่ล้าง หรือถ้าหนัก ๆ ก็ใช้ผงซักฟอกก็ได้ แต่อย่าบ่อย เพราะมันจะกัด 5. ปูผ้าเรียบร้อยก็ผสมเรซิ่นอีก ถ้าเริ่มใหม่ ๆ ให้ผสมในสัดส่วนที่จะทำให้มันแข็งตัวช้า จากนั้นก็ทาเรซิ่นทับ ขั้นตอนนี้ก็อีกเช่นกันคือพยายามทาให้เรียบที่สุดเท่าที่จะทำได้ ถ้าไม่เรียบก็ช่างมันเดี๋ยวหากระดาษทรายขัดได้ หรือใช้แปรงลูกกลิ้งทาก็ได้ ทาไปสัก 3 ชั้น แต่ละชั้นให้ทิ้งเวลาจนมันแห้งสนิทแล้วค่อยทาใหม่ 6. ถ้ามันไม่เรียบ ไม่ต้องต้องใจ แต่ถ้าถึงขั้นหยาบกระด้าง ก็ควรตกใจได้ ทิ้งไว้จนแห้งสนิทสัก 1 คืน จากนั้นให้ใช้กระดาษทรายน้ำไล่ขัดตั้งแต่เบอร์ 100 -> 240 -> 360 -> 600 -> 1000 ถ้ากลัวมือหงิกก็หาเครื่องขัดกระดาษทรายมาใช้ ปกติผมก็ใช้เครื่องขัด (ยืมพี่มา) ขัดหยาบ ๆ ก่อน จากนั้นค่อยใช้กระดาษทรายเบอร์ละเอียดขัดต่อ 7. ลืมขั้นตอนสุดท้ายไปได้ ขัดเสร็จแล้วก็พ่นด้วยแล็กเกอร์เงาครับ แนะนำยี่ห้อ Leyland ครับ เงาสะใจดี กระป๋องละ 45 บาท แต่ต้องพ่นเก่ง ๆ นะครับ ผมเองพ่นไม่เก่งได้ซ่อมงานประจำ หรือไม่อยากได้เนียน ๆ ก็พอทำเสร็จก็ไปให้อู่สีพ่นแล็กเกอร์ให้ก็ได้ จะได้เรียบ ๆ เนียน ๆ แค่นี้เองครับ เสร็จละ สำหรับผมเป็นคนใจร้อน งานมักออกมาชุ่ย ๆ แต่ได้เครื่องขัดเลยช่วยได้เยอะ แต่เครื่องนึงก็ร่วม ๆ สองพัน ลองทำงานเล็ก ๆ ดูก่อนก็ได้ แล้วใช้กระดาษทราย Tips: ถ้าเรซิ่นเริ่มาเซ็ตตัว คือ เริ่มหนืด ๆ แล้ว อย่าทาทับเด็ดขาด ปล่อยให้มันแข็งแล้วค่อยใช้กระดาษทรายขัดแต่ง แล้วค่อยทาเรซิ่นทับต่อ และให้รีบแช่แปรงใน Acetone ทันที ไม่งั้นมันจะแข็ง และล้างไม่ออก [/COLOR][/SIZE][/FONT][/QUOTE]
เข้าสู่ระบบด้วย Facebook
เข้าสู่ระบบด้วย Twitter
เข้าสู่ระบบด้วย Google
ชื่อผู้ใช้งานหรือที่อยู่อีเมล์ของคุณ:
คุณมีบัญชีผู้ใช้หรือไม่?
ไม่มี, สร้างบัญชีผู้ใช้ตอนนี้
มี, รหัสผ่านของฉันคือ:
ลืมรหัสผ่านของคุณ?
อยู่ในระบบตลอดเวลา
RacingWeb.NET | The Racing Cars Community on Web.
ฟอรั่ม
>
Community Team and group
>
Team and Group
>
DNA Racing Club
>
เรื่องน่ารู้สำหรับคลับเรานะครับ
>
X
หน้าแรก
หน้าแรก
Quick Links
โพสต์ล่าสุด
กิจกรรมล่าสุด
ผู้เขียน
ฟอรั่ม
ฟอรั่ม
Quick Links
ค้นหาฟอรั่ม
โพสต์ล่าสุด
ประกาศซื้อขาย
ประกาศซื้อขาย
Quick Links
ค้นหาประกาศซื้อขาย
กิจกรรมล่าสุด
ผู้ค้าขายคะแนนสูงสุด
สื่อ/วิดีโอ
สื่อ/วิดีโอ
Quick Links
Search Media
New Media
สมาชิก
สมาชิก
Quick Links
สมาชิกที่โดดเด่น
สมาชิกที่ลงทะเบียน
ผู้ใช้งานในขณะนี้
กิจกรรมล่าสุด
โพสต์ข้อมูลส่วนตัวใหม่
เมนู
ค้นหาเฉพาะชื่อ
โพสต์โดยสมาชิก:
แยกชื่อด้วยเครื่องหมายจุลภาค
ใหม่กว่า:
ค้นหาเฉพาะหัวข้อนี้
ค้นหาเฉพาะฟอรั่มนี้
แสดงผลเป็นหัวข้อ
การค้นหาที่มีประโยชน์
โพสต์ล่าสุด
เพิ่มเติม...