พอดีนอนหยู่โรงพยาบาลไม่ได้ทำอะไรนั่งเล่นเน็ทอยู่ดีก็นึกถึงไอน๋สไตน์ขึ้นมา ความรู้แล้วกัเนอะ.... อัจริยะและปัจเจกชน ไอน์สไตน์ คิดสมการ E = mc กำลัง 2 ได้อย่างไรก็ไม่รู้แต่กลายเป็นสมการสะท้านโลกในเวลาต่อมา E = พลังงาน (๋J, จูล) เท่ากับ m สสาร คุณกำลังความเร็วของแสงยกกำลังสอง E=mc2 เป็นสมการพลังงานมวลสารสัมพัทธ์ของไอน์สไตน์ แปลตรงๆว่าถ้าสสารสามารถเปลี่ยนตัวเองให้กลายเป็นพลังงานได้หมด 100% แล้ว พลังงานที่ได้(e) จะมีค่าเท่ากับมวล(m) ของสสารนั้นคูณกับค่าความเร็วแสง(c = 300,000,000 m/s) ยกกำลังสอง นั่นคือสสารที่มีมวล 1 กิโลกรัม สามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานได้ทั้งหมด 9x10^16 จูล หรือ เก้าสิบล้าน กิกะจูลครับ โห...........เยอะจัง โดยการประมาณพลังงานที่จะได้ จากการเปลี่ยนเชื้อเพลิงยูเรเนียม ให้กลายเป็นความร้อน แสงนั้นไม่ขึ้นกับความเร็วสัมพัทธ์ และมีค่าคงที่เสมอ ตามทฤษฎีของไอนสไตน์ ดังนั้นไม่ว่าคนที่วัดความเร็วแสงจะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วแค่ไหน ก็จะวัดความเร็วแสงได้คงที่เสมอ สมการ E=mc2 เป็นการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างมวลกับพลังงาน คือเมื่อมวลสลายไปทั้งหมด จะเกิดพลังงานมีค่าเท่ากับมวลที่สลายไปคูณด้วยความเร็วแสงยกกำลัง 2 ความหมายก็คือสสาร กับพลังงานคือสิ่งเดียวกัน เปลี่ยนกลับไปมาได้ E = m นั่นเเอง มวลสารเป็นปฏิภาคกลับกับความเร็ว เพียงแต่ในจักรวาลของเรามีแนวโน้มว่าสสารจะเปลี่ยนไปเป็นพลังงานมากกว่า ถ้าไม่สะใจนี่เลย...จากต้นแบบของไอน์สไตน์ ภาคภาษาอังกฤษไปเลย "It followed from the special theory of relativity that mass and energy are both but different manifestations of the same thing -- a somewhat unfamilar conception for the average mind. Furthermore, the equation E is equal to m c-squared, in which energy is put equal to mass, multiplied by the square of the velocity of light, showed that very small amounts of mass may be converted into a very large amount of energy and vice versa. The mass and energy were in fact equivalent, according to the formula mentioned before. This was demonstrated by Cockcroft and Walton in 1932, experimentally." ขำๆๆๆอย่าซีเรียสนะครับ อ่านจบใครอย่าเอาไปโมรถให้เป็นนิวเคลียร์นะครับ